Thailand Web Stat Truehits.net
Image Alternative text
ทำไมโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ต้องติดตั้งแอร์สำหรับรักษาอุณหภูมิในตู้คอนโทรล?

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      วิศวกรหรือผู้ที่กำลังมองหาหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) คงจะเจอปัญหาในการใช้งานการวัดค่าความเร็วรอบต่าง ๆ อาทิ การพิจารณาเลือกอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบไม่เหมาะสม, ค่าที่วัดได้ไม่ตรง, การตั้งค่ายุ่งยาก, ขนาดตัวอักษรขนาดเล็กมองเห็นไม่ชัดเจน ฯลฯ ส่งผลให้การผลิตไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นวันนี้ผู้บรรยายจะขอแนะนำหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ว่ามี “เคล็ดลับการเลือกซื้อหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter)” อย่างไรให้เหมาะกับการใช้งาน ได้ค่าที่ถูกต้องแม่นยำ และสามารถตั้งค่าการใช้งานง่าย        โดยขอยกตัวอย่างหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) รุ่นต่าง ๆ ของยี่ห้อ Primus ดังนี้   Mini Tachometer (RPM & LINE SPEED) Model: DCM-001N, Brand: Primus Digital Tachometer (RPM & LINE SPEED) Model: CM-001L, Brand: Primus Digital Frequency Meters with Alarm Model: TFM-94N, Brand: Primus Big Display Digital Frequency Meters with Alarm Model: TIM-94B, Brand: Primus ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ที่ผู้อ่านสามารถพบเห็นได้ทั่วไปในงานภาคอุตสาหกรรม      ความเร็วรอบ (Tacho) หมายถึง ความเร็วที่ชิ้นงานตัดหมุนรอบต่อหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยวัดเป็นรอบต่อนาที (RPM) โดย "RPM" ย่อมาจาก Revolutions per Minute ซึ่งในการวัดความเร็วรอบ (RPM) นั้น จะมีเซ็นเซอร์ (Sensor) ในการตรวจจับและเครื่องแสดงผลของความเร็วรอบ (RPM) เรียกว่า RPM Meter, Tachometer หรือ Digital Frequency Meter โดยมีหลักการวัดความเร็ว (Speed) ในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ส่วนใหญ่จะนำมาประยุกต์ในการวัดความเร็วรอบของเครื่องจักร เช่น เพลาล้อรถยนต์, ความเร็วรอบของใบพัด, รอบของลูกกลิ้ง, ความเร็วรอบของมอเตอร์ เป็นต้น โดยผู้อ่านสามารถอ่านบทความก่อนหน้านี้ในหัวข้อเรื่อง “วิธีการวัดค่าความเร็วรอบ (RPM) ของมอเตอร์ ด้วย Proximity Switch” ที่ผู้บรรยายได้กล่าวถึงการใช้เซ็นเซอร์ประเภท Proximity Switch เป็นตัวเซ็นเซอร์ตรวจจับชิ้นงานและต่อเข้ากับหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) เพื่อแสดงค่าการวัดความเร็วรอบ โดยในบทความดังกล่าวจะบอกวิธีการเลือก Proximity Switch ว่าควรพิจารณาจากอะไร เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน      ซึ่งในวันนี้ผู้บรรยายจะขอบรรยายถึงเคล็ดลับการเลือกซื้อหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ว่าควรพิจารณาสิ่งสำคัญอะไรบ้างเพื่อให้ได้หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับการใช้งาน โดยสามารถพิจารณาสิ่งสำคัญดังนี้        ชนิดของเซ็นเซอร์ในการวัดความเร็วรอบ (Sensor Input Type) : การเลือกชนิดเซ็นเซอร์ไม่ตรงกับการใช้งานเป็นสิ่งสำคัญ หากเลือกไม่เหมาะสมจะทำให้การวัดไม่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ในการเลือกใช้งาน สิ่งที่สำคัญคือการตอบสนองความถี่ ซึ่งมีหน่วยเป็น Hz (ครั้งต่อวินาที) โดยการพิจารณาจากความเร็วสูงสุดของอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ว่าสามารถเข้ากับความถี่ชนิดของเซ็นเซอร์หรือไม่ และชิ้นงานที่ตรวจจับเป็นวัสดุอะไร ยกตัวอย่าง "โลหะ" แนะนำควรเป็นเซ็นเซอร์ชนิดอินดัคทีฟ (Inductive Proximity Sensor) และเซ็นเซอร์ชนิดต่าง ๆ เช่น โฟโต้สวิตช์ (Photo Switch),โฟโต้เซ็นเซอร์ (Photoelectric Sensor), เอ็นโค้ดเดอร์ (Encoder) โดยมีรายละเอียดดังนี้   Proximity Switch Photoelectric Sensor Encoder สามารถเลือก Pulse Output มีความละเอียด และมีความแม่นยำสูง มีความละเอียดและมีความแม่นยำสูง ความเร็วรอบต่ำมาก ควรใช้ Incremental Encoder      ชนิดของ Input ที่อุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบสามารถรับได้ : ควรพิจารณาชนิดของ Input ว่าอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบสามารถรับ Input ชนิดใดได้บ้าง เช่น Proximity Switch, โฟโต้สวิตช์ (Photo Switch),โฟโต้เซ็นเซอร์ (Photoelectric Sensor), เอ็นโค้ดเดอร์ (Encoder) เป็นต้น (ดังตาราง Spec) ชนิดเซ็นเซอร์ตรวจจับความเร็วรอบที่อุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบสามารถรับได้        ค่าการตอบสนองความถี่ (Hz) ของอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ : ควรพิจารณาเลือกความถี่ของชนิดเซ็นเซอร์ตรวจจับความเร็วรอบและความถี่ที่ระบุไว้ที่ Name Plate ของมอเตอร์ รวมถึงค่าการตอบสนองความถี่ (Hz) ของอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบว่ามีความเหมาะสมหรือไม่   ความถี่ของชนิดเซ็นเซอร์ตรวจจับความเร็วรอบ (1000 Hz) ความถี่ที่ระบุไว้ที่ Name Plate ของมอเตอร์ ค่าการตอบสนองความถี่ (Hz) ของอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ        ขนาดของตัวอักษรของอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบเพื่อแสดงให้เห็นชัดเจน : ซึ่งขนาดของตัวอักษรก็เป็นปัจจัยสำคัญในการแสดงผล เพื่อให้ผู้อ่านค่าสามารถมองเห็นได้ชัดเจน โดยผู้อ่านสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสม   Mini Tachometer (RPM & LINE SPEED) Model: DCM-001N, Brand: Primus Digital Tachometer (RPM & LINE SPEED) Model: CM-001L, Brand: Primus Digital Frequency Meters with Alarm Model: TFM-94N, Brand: Primus Big Display Digital Frequency Meters with Alarm Model: TIM-94B, Brand: Primus 4 หลัก ขนาด 0.39 นิ้ว 4 หลัก ขนาด 0.56 นิ้ว 5 หลัก ขนาด 0.56 นิ้ว 5 หลัก ขนาด 2.3 นิ้ว และ 4.3 นิ้ว (มีให้เลือก 2 Size)        การคำนวณเพื่อเลือกความถี่ของรุ่น Sensor ที่เหมาะสม : โดยสามารถอ้างอิงสูตรการคำนวณจากสมการ        จากข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้น ผู้อ่านสามารถใช้หลักการในการพิจารณาเลือกซื้อหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ได้ตามหัวข้อดังกล่าว ซึ่งถ้าปฏิบัติตามหลักการพิจารณาแล้ว ทางผู้บรรยายมั่นใจได้ว่าผู้อ่านจะสามารถเลือกหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ได้อย่างถูกต้องและใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ        ดังนั้นผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการต่อใช้งานของหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ร่วมกับ Proximity Switch ในการวัดความเร็วรอบของมอเตอร์ ดังนี้        ตัวอย่างการต่อใช้งานของหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ร่วมกับ Proximity Switch ในการวัดความเร็วรอบของมอเตอร์        ข้อดีของการเลือกใช้งานหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) รุ่น TIM-94B ยี่ห้อ Primus ดังนี้      • มีขนาดหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ สามารถมองเห็นตัวเลขได้ชัดเจน 5 หลัก ขนาด 2.3 นิ้ว และ 4.3 นิ้ว      • สามารถแสดงค่าได้หลากหลายหน่วยการวัด          - Frequency(kHz, Hz)          - Speed(RPS, RPM)          - Line Speed (cm/s, cm/min, cm/hr, m/s, m/min, m/hr)      • รับอินพุตได้ Proximity Switch (NPN, PNP), Photo Sensor (NPN, PNP), Encoder และ Pulse      • มี 3 Relay Output พร้อม 4 Alarm Function      • มี Transfer Output แบบ 4-20mA และ 0-10VDC (Option)      • สามารถสื่อสารกับ Computer ผ่านพอร์ต RS485 MODBUS RTU Protocol (Option)      • สามารถจำค่าสูงสุดและต่ำสุดได้      • มี 1 Digital Input สำหรับ Reset ค่าต่าง ๆ        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   วัด Speed ของผ้า (m/min) วัดความเร็วรอบของโรเตอร์ (RPM) วัดความเร็วรอบของมอเตอร์ (RPM) RPM & LINE SPEED MINI TACHOMETER Digital Frequency Meters With Alarm DIGITAL TARGET COUNTER WITH RS485 Encoder โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK  

Image Alternative text
Wiring Duct ในตู้คอนโทรลมีแบบไหนบ้าง

Wiring Duct ในตู้คอนโทรลมีแบบไหนบ้าง                 Wiring Duct หรือ เรียกว่า รางเก็บสายไฟ, รางเก็บสาย Lan, รางเก็บสายโทรศัพท์ เพื่อเก็บสายให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ถ้าหากมีสายไฟเยอะๆ อาจจะเกิดความไม่ปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงาน หรือพื้นที่บริเวณนั้น และการใช้รางสำหรับเก็บสายไฟ (Wiring Duct) ทำให้ง่ายต่อการตรวจเช็คกรณีที่ต้องการเปลี่ยนหรือการต่อใช้งานอุปกรณ์ภายในตู้คอนโทรล               ซึ่งรางเก็บสายไฟ (Wiring Duct) มีการใช้ตามลักษณะงานที่หลากหลาย เช่น งานเก็บสายตามอาคาร สำนักงาน, งานเก็บสายไฟในตู้คอนโทรลในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ซึ่งในหัวข้อนี้เราจะขอยกตัวอย่าง Wiring Duct ยี่ห้อ IBOCO แต่ละประเภทที่นิยมใช้ในตู้คอนโทรลกัน (ดังรูป)                                 รูป Wiring Duct ชนิดต่างๆ ยี่ห้อ IBOCO Wiring Duct แบ่งออกเป็ น 3 ประเภทหลักๆได้ ดังนี้ 1. นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์เสริม (Accessories) ในการติดตั้งร่วมกับราง เพื่อเก็บสายไฟ (Wiring Duct) 2.Wiring Duct แบบทึบพร้อมฝาปิด (Cover) เหมาะสำหรับงานเก็บสายไฟ เพื่อป้องกันฝุ่นหรือ น้ำ,น้ำมัน เป็นต้น 3.Wiring Duct แบบทึบใช้ร่วมกับ (Cable Gland) เหมาะสำหรับงานเดินท่อ สายไฟ หรือ งานลิฟท์ ที่ต้องการแยกสายไฟในแต่ละชั้น นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์เสริม (Accessories) ในการติดตั้งร่วมกับรางเพื่อเก็บสายไฟ (Wiring Duct) ข้อแนะนำ ในการเลือกใช้งานราง Wiring Duct ควรเลือกรางที่มีคุณสมบัติทนความร้อนได้ดี ไม่ทำให้เกิดประกายไฟ สำหรับราง Wiring Duct ยี่ห้อ IBOCO นี้มีมาตรฐานในการเจาะรู(DIN 43659) เพื่อใช้งานร่วมกับอุปกรณ์เสริมได้ ซึ่งปัจจุบันมีเทคโนโลยีใหม่ ที่ถูกออกแบบเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการใช้งาน โดยทำร่องไว้เพื่อใช้ในการหักซี่ของรางได้ด้วยมือ ไม่จำเป็นต้องใช้คีมหรือเครื่องมือต่างๆ ในกรณีที่ต้องการหักที่ฐานด้านขอบราง ก็สามารถตัดขอบด้านข้างและหักด้วยมือ (ดังรูป)  

Image Alternative text
#Test งานตรวจจับระดับน้ำ ในขวดน้ำหอมปรับอากาศ โดยใช้อุปกรณ์ Vision Sensor รุ่น #MVS-Series

#Test งานตรวจจับระดับน้ำ ในขวดน้ำหอมปรับอากาศ โดยใช้อุปกรณ์ Vision Sensor รุ่น #MVS-Series Multi Camera Vision Sensor MVS Series MVS-PM-R Color pattern matching camera unit Application examples: ยี่ห้อ OPTEX-FA • Inspection of electronic parts • Inspection of position of parts for automobile • Checking existence of some material by its color MVS-EM-R Measurement camera unit Application examples: • Measuring diameter of parts for automobile • Counting edges on the surface of parts • Measuring pitch of lead frame for electronic parts MVS-OCR2 Color OCR camera unit Application examples: • Inspection of shelf life on the label • Inspection of lot number on the label • Inspection of Part number labeled on the parts for automobile