Thailand Web Stat Truehits.net
Image Alternative text
การเพิ่ม Input และ Output ของ PLC+HMI ด้วย I/O Expansion Module

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      ปัจจุบัน PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) มีความสำคัญมากในงานภาคอุตสาหกรรม เพราะถือเป็นหัวใจหลักที่ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่องจักรหรือระบบต่างๆ โดย PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) จะมีหลักการทำงานการใช้งานแบบเดี่ยว (Stand Alone) ยังสามารถต่อ โดย PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) หลายๆตัวเข้าด้วยกันเป็นระบบเครือข่าย (Network) เพื่อควบคุมการทำงานของระบบให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะเห็นได้ว่าการใช้งาน PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) มีความยืดหยุ่นมากกว่าการใช้งานวงจรรีเลย์แบบเก่า ดังนั้น ปัจจุบันโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ จึงเปลี่ยนมาใช้ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) มากขึ้น ซึ่งผู้อ่านสามารถพบเห็นรูปแบบของ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) ได้ทั่วไปเกือบทุกภาคส่วนของงานอุตสาหกรรม อาทิ หน้าจอสี, หน้าจอ LCD, หน้าจอแบบปุ่มกด (Keypad) และหน้าจอแบบ Touch Screen  เป็นต้นโดยสามารถดูตัวอย่างได้จากบทความที่ผู้บรรยายได้เคยเขียนไว้ในหัวข้อ “PLC + HMI คืออะไร?” และ “PLC+HMI UNITRONICS มีหน้าจอแบบไหนบ้าง?” UniStream PLC Programmable Controllers Vision Series PLC Programmable Controllers Samba Series PLC Programmable Controllers Jazz & M91 PLC Programmable Controllers UniStream PLC เน้นกับงานที่ใช้กราฟฟิค หน้าจอแบบ Touch Screen Vision PLC สามารถเก็บข้อมูล (Data logger) ได้ภายในตัวของ PLC เลย หน้าจอแบบ  Touch Screen Samba PLC สามารถเก็บข้อมูล (Data logger) ได้ภายในตัวของ PLC เลย หน้าจอแบบ Touch Screen (ราคาถูก) Jazz and M91 PLC มีขนาดเล็กกะทัดรัด หน้าจอแบบ LCD      โดยในวันนี้ผู้บรรยายจะขอบรรยายถึง I/O Expansion Modules ที่เป็นโมดูลในการเพิ่มในส่วนของ Input และ Output ของ PLC โดยมีความหลากหลายของประเภท Input และ Output (I/O) ยกตัวอย่างเช่น Digital, Analog, Temperature, Hi-Speed I/O รวมไว้อยู่ในตัวเดียว ทำให้ประหยัดพื้นที่ในตู้คอนโทรลได้เป็นอย่างมาก ภายใต้หัวข้อ “การเพิ่ม Input และ Output ของ PLC+HMI ด้วย I/O Expansion  Module”      โดย I/O Expansion Modules หรือ Input/Output Modules คือ โมดูลของอินพุต (Input) และเอาต์พุต (Output) ที่มีอยู่ในตัวเดียวกัน ใช้สำหรับเพิ่ม Input และ Output (I/O) ให้กับ PLC (Programmable Logic Control) โดยมีความหลากหลายของชนิด Input/Output (I/O) เช่น Digital, Analog, Temperature, Hi-Speed I/O, Loadcell, Strain Gauge เป็นต้น ที่รวมอยู่ในตัวเดียว จึงทำให้ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งภายในตู้คอนโทรล โดยผู้ใช้งานสามารถเลือก I/O Expansion Modules ได้ตามต้องการ และสามารถต่อขยาย I/O Expansion Modules เพิ่มได้ จึงเหมาะสำหรับงานภาคอุตสาหกรรมที่มีการควบคุมอุปกรณ์เครื่องมือวัด เช่น เครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller), เซ็นเซอร์วัดแรงดัน (Pressure Transmitter), เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น (Humidity & Temperature Transmitter), เซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุ/ชิ้นงาน (Photoelectric Sensor), เซ็นเซอร์วัดน้ำหนัก (Load cell) ฯลฯ หรือควบคุม Robot ตลอดจนควบคุมการทำงานของเครื่องจักร (Auto Machine) ที่ครอบคลุมทั้ง Solution ในระบบ ตัวอย่าง I/O Expansion Modules (I/O & COM Modules for Vision, Samba & M90/91 series) ยี่ห้อ Unitronics         จากตัวอย่าง I/O Expansion Modules หรือ Input/Output Modules สามารถต่อใช้งานร่วมกับ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) ได้เกือบทุกรุ่น ยี่ห้อ Unitronics (ยกเว้น รุ่น Jazz) ทั้งรูปแบบปุ่มกด (Keypad) และแบบหน้าจอสัมผัส (Touch Screen) โดยสามารถต่อจากด้านหลังของ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface การต่อ I/O Expansion Modules ร่วมกับ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface)        ดังนั้น การใช้ I/O Expansion Modules ในการเพิ่มขยายในส่วนของ Input และ Output ผู้ใช้สามารถเลือกซื้อได้ในภายหลัง เนื่องจากตอนสั่งซื้อ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) ครั้งแรกอาจมีความต้องการจำนวน Input และ Output ที่เพียงพอแล้ว แต่ในอนาคตหากต้องการเพิ่มขยาย Input และ Output การเลือกใช้ I/O Expansion Modules ก็เป็นทางเลือกให้สำหรับผู้ใช้งาน ดังนั้น ประโยชน์ของการใช้เลือกใช้ I/O Expansion Modules ร่วมกับ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) มีดังนี้ ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งในตู้คอนโทรล ลดการ Wiring สาย ทำให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยและสวยงาม มี Input และ Output ในตัวเดียวกัน และมีประเภท Input และ Output ให้เลือกหลากหลาย สะดวกในการซ่อมบำรุงและตรวจสอบ      จากข้อมูลที่ทางผู้บรรยายได้กล่าวถึง I/O Expansion Modules หรือ Input/Output Modules สามารถยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานได้ดังนี้ ยกตัวอย่างการต่อ I/O Expansion Modules ร่วมกับ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface)  รุ่น V1210 ยี่ห้อ Unitronics      จากตัวอย่าง การต่อ I/O Expansion Modules ร่วมกับ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) รุ่น V1210 ยี่ห้อ Unitronics สามารถอธิบายการทำงานได้ดังนี้      จากรูปเป็นการเพิ่ม I/O Expansion I/O โดยปกติจะต้องเพิ่มตัวกลางในการสื่อสารระหว่าง PLC คือ ตัว EX-A2X เป็นตัวแรก เพื่อเชื่อมต่อ I/O Expansion ต่าง ๆ โดยจะสามารถเพิ่มสูงสุดรวมกันไม่เกิน 8 MODULE ซึ่งการเชื่อมต่อแบบนี้เราจะเรียกว่า LOCAL EXPANSION I/O       กรณีมีการเปลี่ยนแก้ไข ให้ไปที่เมนู View และไปที่ Hardware configuration จากนั้นสามารถเพิ่มหรือปรับเปลี่ยน I/O ได้ตามต้องการ ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน ระบบควบคุม  Inverter ระบบเครื่องชุปโลหะ เครื่องฆ่าเชื้อโรงงานอาหาร Relay Module Single Phase Solid State Relay Signal Tower Light Switching Power Supply 3 Phase scr Power Regulator

Image Alternative text
5 สิ่งที่ต้องรู้ก่อนการเลือกซื้อมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      มัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) คือ ขั้วต่อไฟฟ้าที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม เป็นคอนเนคเตอร์ (Connector) ที่มีจำนวนขั้วต่อหลายขั้ว ถูกออกแบบมาให้ใช้ได้ทั้งสาย Power และ Control รวมถึงเครื่องจักรและระบบเชื่อมสัญญาณต่าง ๆ โดยมีให้เลือกหลากหลายตามความเหมาะสมของงาน มีตั้งแต่จำนวนขั้วสายน้อย ไปถึงจำนวนขั้วสายมาก ประกอบไปด้วย ตัวผู้ (Male), ตัวเมีย (Female), ฐานยึด (Housing), ฝาครอบ (Hood) และตัวรัดสาย (Cable Gland) ซึ่งถูกออกแบบมาใช้กับงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์, บรรจุภัณฑ์, โรงไฟฟ้า, ระบบขนส่ง สำหรับช่วยในการติดตั้งทั้งในลักษณะงานเครื่องจักรอยู่กับที่ในโรงงานอุตสาหกรรมหรือเคลื่อนย้ายเครื่องจักร ในกรณีที่ผู้รับเหมาสร้างเครื่องออกแบบเพื่อนำเครื่องจักรเคลื่อนย้ายไปทำการติดตั้งหน้างาน      มัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) มีลักษณะโครงสร้างที่ทำจากอลูมิเนียมหล่อเคลือบผิว หรือวัสดุอย่างอื่นที่ไม่เกิดสนิม ตัวหน้าสัมผัส (Contact) มีความทนกระแสสูงกว่าการใช้งานจริง และสกรูขันที่ทนต่อการต้องถอดเข้าออกบ่อย รูปตัวอย่างมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) รายละเอียดของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) 1. Cable Grand 2. Hood 3. Male Insert 4. Female Insert 5. Housing      มัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) ที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร?      1. คอนเนคเตอร์ (Connector) ที่ดีต้องมีหน้าสัมผัสโลหะที่สามารถทนต่อการรับกระแสสูงสุดได้ โดยมีพิกัดกระแสใช้งานที่สามารถพบได้ทั่วไปในงานอุตสาหกรรม เช่น Contact สำหรับงาน Power จะอยู่ที่ 35A หรือ 80A และ Contact สำหรับงาน Control จะอยู่ที่ 10A หรือ 16A เนื่องจากมีผลต่อการเลือกใช้สายไฟ ซึ่ง Multipole Industrial Connector ในปัจจุบันจะมีทั้งรุ่นที่ออกแบบมาเพื่อใช้งาน Control อย่างเดียว, Power อย่างเดียว และ Power+Control รวมกัน      2. คอนเนคเตอร์ (Connector) ระบบซีลยางที่ดี เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำหรือฝุ่นเข้าไปหน้าสัมผัส      3. คอนเนคเตอร์ (Connector) ในการต่อเชื่อมสาย สิ่งจำเป็นที่จะต้องคำนึงคือความต้านทานของจุดต่อเชื่อมสายจะต้องมีค่าน้อยที่สุด โดยต้องทำให้พื้นที่หน้าสัมผัสสะอาด (ไม่มีฝุ่น) โดยต้องมีการ Maintenance ทุก 3 เดือน หรือ 6 เดือน      ดังนั้นในการพิจารณาเลือกซื้อมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) หรือขั้วต่อไฟฟ้าที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมให้เหมาะสมกับการใช้งาน ผู้ใช้ควรพิจารณาดังนี้      1. Size ของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector)           โดยจะมีอยู่ 2 ขนาดด้วยกัน คือ Size A และ Size B โดยที่ Sizes A จะมีขนาดตัวที่เล็กกว่า Sizes B รวมไปถึง Sizes A จะมีรุ่นที่ทนกระแสและแรงดันได้น้อยกว่า Sizes B โดยจะมีอักษรตัว A หรือ B กำกับตามเลขของจำนวน Pole นั้น ๆ นั่นเอง ตัวอย่าง Size ของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) และวิธีสังเกต      2. จำนวนขั้ว (Pole) ของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) หรือจำนวนขั้วต่อไฟฟ้า (Pole)           ส่วนใหญ่จะเป็นเลขคู่ เช่น 6, 10, 16, 24, 32 และ 48 เป็นต้น และบวกด้วย Ground ในปัจจุบัน Multipole Industrial Connector จะมีทั้งรุ่นที่ออกแบบมาเพื่อใช้งาน Control อย่างเดียว, Power อย่างเดียว และ Control+Power ตัวอย่าง จำนวนขั้ว (Pole) ของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) หรือจำนวนขั้วต่อไฟฟ้า (Pole)      3. ขนาดแรงดันไฟฟ้า (Voltage) ของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector)           ขนาดแรงดันไฟฟ้า (Voltage) จะมีแรงดันไฟฟ้า (Voltage) สำหรับแรงดันไฟฟ้าสำหรับงาน Power โดยมีให้พิจารณาเลือกตั้งแต่ 230V, 400V, 500V และ 690V เป็นต้น และสำหรับงาน Control มีตั้งแต่ 230V, 250V และ 400V เป็นต้น ตัวอย่าง ขนาดแรงดันไฟฟ้า (Voltage) ของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector)      4. พิกัดกระแส (A) การใช้งานของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector)           พิกัดกระแส (A) การใช้งานของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) เช่น หน้า Contact สำหรับงาน Power จะอยู่ที่ 35A หรือ 80A และ Contact สำหรับงาน Control จะอยู่ที่ 10A หรือ 16A เนื่องจากมีผลต่อการเลือกใช้สายไฟ ซึ่ง Multipole Industrial Connector ในปัจจุบันจะมีทั้งรุ่นที่ออกแบบมาเพื่อใช้งาน Control อย่างเดียว, Power อย่างเดียว และ Power+Control รวมกัน ตัวอย่าง พิกัดกระแส (A) การใช้งานของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) งาน Control อย่างเดียว งาน Power อย่างเดียว งาน Power+Control      5. การระบุประเภทการออกสายแบบด้านข้างหรือแบบด้านบน เพื่อเลือก Hood และ Housing ของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector)           โดยผู้ใช้ต้องจะต้องพิจารณารูปแบบการออกสายแบบออกด้านข้างหรือแบบด้านบน เพื่อทำการเลือก Hood และ Housing ของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) ให้เหมาะสมกับการติดตั้งการใช้งาน ตัวอย่าง การระบุประเภทการออกสายแบบด้านข้างหรือแบบด้านบน เพื่อเลือก Hood และ Housing ของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector)      ดังนั้นการที่ทราบถึงลักษณะการติดตั้งของหน้างานในเบื้องต้นและจำนวนขั้วต่อ (Pole) ที่จะใช้งานนั้น จะทำให้การเลือก Multipole Industrial Connector มีความเหมาะสมและไม่เสียเวลาในการติดตั้งเพิ่มภายหลัง      จากคุณสมบัติ และ 5 การพิจารณาเลือกซื้อมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) หรือขั้วต่อไฟฟ้าที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมให้เหมาะสมกับการใช้งานที่ทางผู้บรรยายได้กล่าวมาข้างต้นนั้น ผู้บรรยายสามารถยกตัวอย่างการติดตั้งการประยุกต์ใช้งานของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) หรือขั้วต่อไฟฟ้าได้ดังนี้ ยกตัวอย่างการติดตั้ง การประยุกต์ใช้งานของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) หรือขั้วต่อไฟฟ้า กับเครื่องฉีดพลาสติก   ยกตัวอย่างการติดตั้ง การประยุกต์ใช้งานของมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) หรือขั้วต่อไฟฟ้า กับตู้คอนโทรล      ข้อดีของการการติดตั้งมัลติโพลคอนเนคเตอร์ (Multipole Connector) หรือขั้วต่อไฟฟ้า ในงานอุตสาหกรรมมีดังนี้      • สะดวกและง่ายในการตรวจสอบระบบไฟฟ้าในกรณีที่ระบบมีปัญหา      • รวดเร็วสำหรับกระบวนการผลิตและการประกอบ ติดตั้งง่าย เคลื่อนย้ายสะดวก      • ลดความยุ่งยากในการเชื่อมต่อสายปริมาณมาก ๆ เวลาเคลื่อนย้ายเครื่องจักร      • สามารถป้องกันการต่อสายไฟผิดพลาดการเดินสายไฟเป็นระเบียบ สวยงาม      • มีโครงสร้างพลาสติกและโลหะ มีความแข็งแรงทนทานต่อการใช้งานหนัก (Heavy Duty) งานที่มีการสั่นสะเทือน      • สามารถกันฝุ่น กันน้ำได้ (สำหรับรุ่นมี Cover)      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน Hot Runner Controller Molds with multipole connector Control Panel Terminal Block Wiring Duct Connector PLC , Programmable Logic Controller Relay Module โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
4 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานเครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display) สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      เครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display, Digital Indicator) เป็นอุปกรณ์แสดงค่าอุณหภูมิ, ความชื้น หรือ Process ต่าง ๆ ของกระบวนการผลิตในงานภาคอุตสาหกรรม โดยสามารถรับเซ็นเซอร์อุณหภูมิประเภท Temperature Sensor อาทิ Thermocouple, RTD (PT100), PTC และกระแส (Current) 4-20mA, 0-20mA และแรงดัน (Voltage) 0-10V เป็นต้น โดยอุปกรณ์วัดและแสดงผลค่าอุณหภูมิและความชื้น หรือ Process ต่าง ๆ อาจมี Option เพิ่มเป็น Alarm หรือ Communication RS-485 เพื่อเชื่อมต่อหรือส่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์อื่น ๆ อาทิ PLC, PC หรือ Internet Could ได้ โดยปัจจุบันผู้ใช้สามารถพบเห็นหน้าจอแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator) ในงานภาคอุตสาหกรรมทั่วไป โดยสามารถยกตัวอย่างดังนี้   Digital Indicator (Big Display) ยี่ห้อ Primus รุ่น TIM-94B-Series Digital Indicator (Big Display) ยี่ห้อ Primus รุ่น TGA-004B-Series Digital Indicator ยี่ห้อ Primus รุ่น TIM-94N-Series เครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ เครื่องแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น แบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ เครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผล      จากข้อมูลตารางหน้าจอแสดงผล (Digital Indicator) ที่มีให้ผู้ใช้ได้เลือกหลากหลาย ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TIM-94B-Series ยี่ห้อ Primus ที่เป็นเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) สามารถวัดและแสดงผลค่าอุณหภูมิและความชื้น หรือ Process ต่าง ๆ โดยรับสัญญาณมาจาก Thermocouple, RTD (PT100), PTC และกระแส (Current) 4-20mA, 0-20mA และแรงดัน (Voltage) 0-10V เป็นต้น ซึ่งแสดงผลด้วย 7-Segment ขนาด 2.3 นิ้ว 5 หลัก 1 แถว (TIM-94B2) และ 7-Segment ขนาด 4 นิ้ว 5 หลัก 1 แถว (TIM-94B2) มองเห็นได้ชัดเจน   Digital Indicator (Big Display) Digital Indicator (Big Display) ยี่ห้อ Primus รุ่น TIM-94B2-Series 7-Segment ขนาด 2.3 นิ้ว 5 หลัก 1 แถว ยี่ห้อ Primus รุ่น TIM-94B4-Series 7-Segment ขนาด 4 นิ้ว 5 หลัก 1 แถว        ส่วนด้าน Output มี Alarm Relay สูงสุด 3 Alarm Output แบบ Contact 5A 250VAC (NO, NC) และมี 4 Alarm Function ในการตั้งค่าสำหรับตัดต่อ Load ได้ตามต้องการ และมี Analog Transfer Output แบบ 4-20mA และ 0-10VDC โดยสามารถตั้งค่าการทำงานได้ทั้งแบบ Direct คือ Output เปลี่ยนแปลงตรงตาม Input และแบบ Inverse คือ Output เปลี่ยนแปลงผกผันกับ Input สำหรับต่อร่วมเข้ากับอุปกรณ์อื่น ๆ ได้        จากที่ผู้บรรยายได้กล่าวข้อมูลคุณสมบัติของเครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display, Digital Indicator) ดังที่กล่าวมาข้างต้น วันนี้ผู้บรรยายขอยก 4 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานเครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display, Digital Indicator) สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อให้ผู้ใช้ได้เข้าใจวิธีการนำไปใช้มากขึ้น        1. ตัวอย่างเครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display, Digital Indicator) รุ่น TIM-94B2 ร่วมกับ Temperature Sensor ตัวอย่างเครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display, Digital Indicator) รุ่น TIM-94B2 ร่วมกับ Temperature Sensor        2. ตัวอย่างเครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display, Digital Indicator) รุ่น TIM-94B4 ร่วมกับ Pressure Transmitter ตัวอย่างเครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display, Digital Indicator) รุ่น TIM-94B2 ร่วมกับ Pressure Transmitter        3. ตัวอย่างเครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display, Digital Indicator) รุ่น TIM-94B4 ร่วมกับ Humidity & Temperature Transmitter ร่วมกับ PLC ตัวอย่างเครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display, Digital Indicator) รุ่น TIM-94B2 ร่วมกับ Humidity & Temperature Transmitter ร่วมกับ PLC        4. ตัวอย่างเครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display, Digital Indicator) รุ่น TIM-94B4 ร่วมกับ Digital Load Cell Indicator ร่วมกับ Primus Software ตัวอย่างเครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display, Digital Indicator) รุ่น TIM-94B4 ร่วมกับ Digital Load Cell Indicator ร่วมกับ Primus Software        จาก 4 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานเครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display, Digital Indicator) สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม สามารถบอกถึงข้อดีของเครื่องแสดงผลแบบหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ (Big Display, Digital Indicator) ดังนี้      1. มีการแสดงผลด้วยตัวเลขที่ใหญ่ มองเห็นได้ชัดเจน      2. มีความแม่นยําในการวัดค่าอุณหภูมิ, ความชื้น และค่า Process ต่าง ๆ      3. สามารถเก็บค่าการวัดค่าอุณหภูมิและความชื้นได้ โดยผ่าน RS-485 Protocol MODBUS      4. สามารถส่งอุปกรณ์ไป Calibration เพื่อออกเอกสาร Certificate ได้      5. มีความยืดหยุ่นในการแสดงค่าต่าง ๆ ได้ เพราะ Universal Input        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   Lucida Sans Unicode แสดงค่าอุณหภูมิในโรงงานอุตสาหกรรม ชั่งน้ำหนักรถ แสดงค่าแรงดันในถัง Humidity & Temperature Transmitter Digital Temperature Controller PID Control Function Digital Indicator เครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล Digital Temperature Indicator Temperature Sensor  โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
ทำไมต้องเลือกใช้ Power SCR (Power Regulator) ในการควบคุมฮีตเตอร์ (Heater) ที่ใช้กระแสสูง ๆ

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      Power SCR (Power Regulator) : เพาเวอร์เอสซีอาร์ เป็นอุปกรณ์ปรับหรือควบคุมการจ่ายกำลังไฟฟ้า หรือที่เรียกกันทั่ว ๆ ไป คือ SCR Power Regulator โดยซิลิคอนคอนโทรลเร็คติไฟร์เออร์ (Silicon Control Rectifier) ที่เป็นอุปกรณ์โซลิดสเตท (Solid State) จะทำหน้าที่เป็นสวิตช์เปิด-ปิด (ON-OFF) ของวงจรทางอิเล็กทรอนิกส์ โดย Power SCR (Power Regulator) : เพาเวอร์เอสซีอาร์ จะเป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำประเภทไทริสเตอร์ (Thyristor) มีหน้าที่ในการควบคุมการจ่ายกำลังไฟฟ้า โดยส่วนใหญ่มักนำไปใช้ในการควบคุมการจ่ายกำลังไฟฟ้าสำหรับฮีตเตอร์ (Heater) ที่มีกระแสสูง ๆ โดยนำไปใช้ในงานด้านการควบคุมฮีตเตอร์ (Heater) ของเตาหลอมที่ใช้ความร้อนสูง ๆ เป็นต้น ข้อดีคือไม่มีการเคลื่อนไหวของหน้าสัมผัส (Contact) ขณะเปิด-ปิดวงจร จึงทำให้ไม่เกิดประกายไฟ (Spark) ทำให้มีอายุการใช้งานยาวนานและไม่เกิดเสียงรบกวนขณะทำงาน ตัวอย่าง Power SCR หรือ SCR Power Regulator กราฟแสดงความสัมพันธ์ของอุณหภูมิพื้นที่ใช้งาน โดยตัวอุปกรณ์ไม่เกิดการกัดกร่อน (Corrosion), ไม่มีคราบสิ่งสกปรก (Greasy Dirt)      ในการควบคุมการทำงานของฮีตเตอร์ (Heater) นั้น Power SCR (Power Regulator) : เพาเวอร์เอสซีอาร์ หรือ SCR Power Regulator, SCR Power Controller จะทำงานแบบเร่ง-หรี่ (Phase Angle Control) โดยรับสัญญาณประเภทสัญญาณอนาล็อก เช่น 4-20mA, 1-5Vdc, 2-10Vdc, Potentiometer 250 Kohm และ RS-485 จาก Controller เพื่อควบคุมมุมของเฟสในสัญญาณ Sine Wave ให้ทำงานตามเปอร์เซ็นต์ของ Input ทำให้กำลังไฟฟ้าของ Load มีการเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณ Input ส่งผลให้การควบคุม Load มีความละเอียดมากกว่า ON/OFF ทำให้กระแสไม่กระชากขณะทำงาน มีกระแสให้เลือกสูงสุดถึง 100A เมื่อมีความผิดพลาดของ Load จะมี Semi-Conductor Fuse ป้องกันอุปกรณ์ภายในไม่ให้เสียหาย ขนาดของ Power SCR (Power Regulator) : เพาเวอร์เอสซีอาร์ หรือ SCR Power Regulator, SCR Power Controller การทำงานของ VR Adjustment      Power SCR (Power Regulator) : เพาเวอร์เอสซีอาร์ หรือ SCR Power Regulator, SCR Power Controller ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมโดยส่วนใหญ่มักนำไปใช้ในการควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟ้าสำหรับฮีตเตอร์ (Heater) ทุกชนิด เช่น งานควบคุมฮีตเตอร์ (Heater) ของเตาหลอมที่ใช้ความร้อนสูง, งานควบคุมอินฟราเรดฮีตเตอร์ (Infrared Heater) เป็นต้น      ข้อแนะนำ : ในการเลือกใช้งาน Power SCR (Power Regulator) : เพาเวอร์เอสซีอาร์ หรือ SCR Power Regulator, SCR Power Controller นั้น ควรใช้งานไม่เกิน 70% ของกระแสสูงสุดของ SCR เช่น SCR ขนาดพิกัดกระแส 100A ดังนั้น ฮีตเตอร์ (Heater) ที่ต่อร่วมไม่ควรเกิน 70A เป็นต้น      จากคุณสมบัติของ Power SCR (Power Regulator) : เพาเวอร์เอสซีอาร์ หรือ SCR Power Regulator, SCR Power Controller ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานดังนี้ ยกตัวอย่างการใช้งาน Power SCR (Power Regulator) : เพาเวอร์เอสซีอาร์ หรือ SCR Power Regulator, SCR Power Controller แบบ 3 เฟส ในการควบคุมการตัดต่อฮีตเตอร์ (Resistive Load)      จากที่ผู้บรรยายได้บรรยายถึงคุณสมบัติของ Power SCR (Power Regulator) : เพาเวอร์เอสซีอาร์ หรือ SCR Power Regulator, SCR Power Controller ที่กล่าวมาข้างต้นนั้น วันนี้ผู้บรรยายจะขอกล่าวถึงข้อดีและคุณสมบัติหลัก ว่าทำไมต้องเลือกใช้ Power SCR (Power Regulator) : เพาเวอร์เอสซีอาร์ หรือ SCR Power Regulator, SCR Power ในการควบคุมฮีตเตอร์ (Heater) ที่ใช้กระแสสูง ๆ โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ Power SCR (Power Regulator) : เพาเวอร์เอสซีอาร์ หรือ SCR Power Regulator, SCR Power คือ      • ไม่มีหน้า Contact ทำให้ไม่เกิดประกายไฟ และไม่มีฝุ่นเกาะ ทำให้มีอายุการใช้งานยาวนานและไม่เกิดเสียงรบกวนขณะทำงาน      • รูปแบบเป็นสัญญาณแบบ Sine Wave ทำงานตามเปอร์เซ็นต์ของ Input ทำให้กำลังไฟฟ้าของ Load มีการเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณ Input ส่งผลให้การควบคุม Load มีความละเอียดมากกว่า ON/OFF ทำให้กระแสไม่กระชากขณะทำงาน      • สามารถปรับตั้งค่า Output Voltage สูงสุด (Max) และค่า Control Signals ต่ำสุดที่จะเริ่มขับ Output Voltage (BIAS) ได้อิสระจากกัน      • สามารถตั้งค่า Rising Time ได้ 1-22 Seconds      • สามารถใช้กับระบบไฟ Main Power 480VAC ที่ความถี่ 50/60 Hz      • รับ Auxiliary Power (AC1, AC2) แยกอิสระ SCR Module      • รับสัญญาณ Input 4-20mA, 0-20mA, 0-5VDC, 1-5VDC, 2-10VDC, 0-10VDC, Potentiometer 2-10K Ohm, Dry Contact      • มี LED แสดงสถานะการทำงาน Power, Input, Output, TH Err, Fuse/Source Err      • สามารถตรวจจับ Power Out-Of-Phase, SCR Overheating และ Fuse Burn-Down แล้วแสดงที่ LED พร้อมทั้งแจ้งเตือนด้วย Alarm Dry Contact Output และหยุดขับ Output ทันที เมื่อไฟกลับมาปกติอุปกรณ์จึงเริ่มขับ Output เพื่อป้องกัน Fuse Burn-Down      • มี Heat Sink ระบายความร้อน      • มีพิกัดกระแสสูงสุดถึง 180A      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน Frying Product Line Generators Test Load Duct Heater ให้ลมร้อน Single Phase Solid State Relay 3 Phase Solid State Relay Heat Sink อุปกรณ์ระบายความร้อนโซลิดสเตทรีเลย์ Heater ฮีตเตอร์ Digital Temperature Controller PID Control Function โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
3 ตัวอย่าง การประยุกต์ใช้งาน Digital Phase Protection Relay ในระบบไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส ในงานอุตสาหกรรมที่พบบ่อย

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) เป็นอุปกรณ์รีเลย์ (Relay) ที่ใช้สำหรับป้องกันความผิดปกติที่เกิดกับเครื่องจักร ระบบไฟฟ้า หรืออุปกรณ์ไฟฟ้า แบบมีหน้าจอแสดงผลแบบดิจิตอล เช่น ป้องกันไฟตก-ไฟเกิน (Under-Over Voltage), เฟสขาดหาย (Phase Loss), เฟสไม่สมดุล (Phase Unbalance), สลับเฟส (Phase Sequence) เป็นต้น โดยจะทำการตัดวงจรในระบบกรณีที่ระบบไฟฟ้าเกิดความผิดปกติ เพื่อป้องกันไม่ให้เครื่องจักร หรืออุปกรณ์เกิดความเสียหาย และในการใช้งานอุปกรณ์ Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) จะเริ่มทำงานเมื่ออุปกรณ์ Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) ตรวจพบความผิดปกติของระบบไฟฟ้าเกิดขึ้น โดยมีเงื่อนไขในการเช็คความผิดปกติอุปกรณ์ในระบบไฟฟ้า ดังนี้        • เช็คไฟตก-ไฟเกิน (Under-Over Voltage) แรงดันในขณะที่ใช้งานมีค่าเกินหรือต่ำกว่าที่กำหนด      • เช็คเฟสขาดหาย (Phase Loss) แรงดันของเฟสใดเฟสหนึ่งขาดหายไป      • เช็คเฟสไม่สมดุล (Phase Unbalance) แรงดันไฟฟ้าของแต่ละเฟสที่ต่างกัน      • เช็คลำดับเฟส (Phase Sequence) แรงดันไฟฟ้าของแต่ละเฟสสลับกันหรือการเรียงลำดับเฟสไม่ถูกต้องของระบบไฟ 3 เฟส 3 สาย และ 3 เฟส 4 สาย        โดยผู้อ่านสามารถพบเห็น Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) ได้โดยทั่วไปในงานภาคอุตสาหกรรมที่มีหลากหลายแบบ โดยผู้บรรยายขอยกตัวอย่างรูปร่างหน้าตา Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) ดังนี้   PM-017/PM-017N VPM-D-Series VPM-05-Series VPM-06-Series 3 Phase Under&Over Voltage Relay Digital Voltage Protection Relay Digital Voltage Protection Relay Digital Voltage Protection Relay        จากตัวอย่าง Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) ที่ผู้บรรยายได้กล่าวข้างต้น วันนี้ผู้บรรยายจะขอบรรยายถึงคุณสมบัติและจุดเด่น รวมถึงการประยุกต์ใช้งานของ Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-05-Series และ VPM-06-Series ว่ามีรูปแบบการประยุกต์ใช้งานอย่างไร ในหัวข้อ “3 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน Digital Phase Protection Relay ในระบบไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส ในงานอุตสาหกรรมที่พบบ่อย” ดังนี้        • Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) รุ่น VPM-05-Series   Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) รุ่น VPM-05-P2 Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) รุ่น VPM-05-P3/VPM-05-P4 • เช็คไฟตก-ไฟเกิน (Under-Over Voltage) แรงดันในขณะที่ใช้งานมีค่าเกินหรือต่ำกว่าที่กำหนด   • เช็คไฟตก-ไฟเกิน (Under-Over Voltage) แรงดันในขณะที่ใช้งานมีค่าเกินหรือต่ำกว่าที่กำหนด • เช็คเฟสไม่สมดุลย์ (Phase Unbalance) แรงดันไฟฟ้าของแต่ละเฟสที่ต่างกัน • เช็คลำดับเฟส (Phase Sequence) แรงดันไฟฟ้าของแต่ละเฟสสลับกันหรือการเรียงลำดับเฟสไม่ถูกต้องของระบบไฟ 3 เฟส 3 สาย และ 3 เฟส 4 สาย        VPM-05-Series เป็น Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) ที่แสดงผลและตรวจวัดแรงดันไฟฟ้าแบบ Digital ซึ่งทำให้การแสดงผลมีค่าที่ชัดเจนและเที่ยงตรง โดยเมื่อจ่ายไฟเข้าระบบ VPM-05-Series : Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) จะทำการตรวจวัดค่าแรงดันไฟฟ้าว่าปกติหรือไม่ คือ แรงดันไม่สูงเกินหรือต่ำกว่าที่ตั้งไว้ เฟสไม่สมดุล (Phase Unbalance) ไม่เกินกว่าเปอร์เซ็นต์ที่ตั้งไว้ (Range 2-20%) และลำดับเฟสถูกต้อง ถ้าทุกอย่างปกติ VPM-05-Series : Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) จะทำการเริ่มหน่วงเวลาตาม T-ON ที่ตั้งไว้ (Range 0-900 Sec) เมื่อครบเวลา Relay Output จะทำงาน หลังจากนั้นหาก VPM-05-Series : Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) ตรวจเช็คความผิดปกติของแรงดันสูงเกินหรือต่ำกว่าค่าที่ตั้งไว้ เฟสไม่สมดุล (Phase Unbalance) เกินกว่าค่าที่ตั้งไว้หรือลำดับเฟสไม่ถูกต้อง VPM-05-Series : Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) จะเริ่มหน่วงเวลาตาม T-OFF (Range0-10 sec) เมื่อครบเวลา Relay Output จะหยุดทำงาน โดย % Unbalance หรือเปอร์เซ็นต์ของแรงดันไฟฟ้าแต่ละเฟสที่แตกต่างกันสามารถตั้งค่าได้ 2-20%        จากที่ผู้บรรยายได้อธิบายคุณสมบัติเบื้องต้นพอสังเขปนั้น ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการใช้งานของ VPM-05-Series เป็น Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) ดังนี้   ยกตัวอย่างการใช้งานของ VPM-05-P2 เป็น Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์)   ยกตัวอย่างการใช้งานของ VPM-05-P4 เป็น Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์)      • Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) รุ่น VPM-06-Series Digital Phase Protection Relay (เฟสโปรเทคชั่นรีเลย์) รุ่น VPM-06 • เช็คไฟตก-ไฟเกิน (Under-Over Voltage) แรงดันในขณะที่ใช้งานมีค่าเกินหรือต่ำกว่าที่กำหนด • เช็คเฟสขาดหาย (Phase Loss) แรงดันของเฟสใดเฟสหนึ่งขาดหายไป • เช็คเฟสไม่สมดุล (Phase Unbalance) แรงดันไฟฟ้าของแต่ละเฟสที่ต่างกัน • เช็คลำดับเฟส (Phase Sequence) แรงดันไฟฟ้าของแต่ละเฟสสลับกันหรือการเรียงลำดับเฟสไม่ถูกต้องของระบบไฟ 3 เฟส 3 สาย และ 3 เฟส 4 สาย      VPM-06-Series เป็น Digital Voltage Protection Relay 2 Output ที่แสดงผลและตรวจวัดแรงดันไฟฟ้าแบบ Digital ซึ่งทำให้การแสดงผลมีค่าที่ชัดเจนและเที่ยงตรง โดยสามารถแยกการทำงานการตรวจวัดค่าแรงดันไฟฟ้าได้ถึง 2 Channels อิสระต่อกัน เมื่อจ่ายไฟเข้าระบบ VPM-06-Series เป็น Digital Voltage Protection Relay 2 Output จะทำการตรวจวัดค่าแรงดันไฟฟ้าว่าปกติหรือไม่ คือ แรงดันไม่สูงเกินหรือต่ำกว่าที่ตั้งไว้ เฟสไม่สมดุล (Phase Unbalance) ไม่เกินกว่าเปอร์เซ็นต์ที่ตั้งไว้ (Range 2-20%) เฟสขาดหายและลำดับเฟสถูกต้อง ถ้าทุกอย่างปกติ VPM-06 จะทำการเริ่มหน่วงเวลาตาม T-ON ที่ตั้งไว้ (Range 0-900 sec) เมื่อครบเวลา Relay Output จะทำงาน หลังจากนั้นหาก VPM-06-Series เป็น Digital Voltage Protection Relay 2 Output ตรวจเช็คความผิดปกติของแรงดันสูงเกินหรือต่ำกว่าค่าที่ตั้งไว้ เฟสไม่สมดุล (Phase Unbalance) เกินกว่าค่าที่ตั้งไว้ เฟสขาดหายหรือลำดับเฟสไม่ถูกต้อง VPM-06 จะเริ่มหน่วงเวลาตาม T-OFF (Range 0-10 sec) เมื่อครบเวลา Relay Output จะหยุดทำงาน โดยสามารถตั้งค่าเปิด-ปิดการใช้งานการตรวจวัดค่าแรงดันสูงเกินหรือต่ำเกิน, เฟลไม่สมดุล (Phase Unbalance) หรือลำตับเฟสไม่ถูกต้องได้ทั้ง 2 Channels และตั้งเวลา Real Time Clock สำหรับเรียกดูความผิดปกติของแรงดันไฟฟ้าย้อนหลัง และเก็บเวลาที่เกิดขึ้น % Unbalance หรือเปอร์เซ็นต์ของแรงตันไฟฟ้าแต่ละเฟสที่แตกต่างกัน สามารถตั้งค่าได้ 2-20 % การตรวจจับ Unbalance Voltage Function จะทำการตรวจสอบว่าค่าแรงดันไฟฟ้าของแต่ละเฟสเทียบกับค่าแรงดันเฉลี่ยของทั้ง 3 เฟส มีค่าแตกต่างกันเกินกว่า % Unbalance ที่ตั้งไว้หรือไม่ หากมีค่าสูงกว่าจะทำการหน่วงเวลาแล้ว Relay จะหยุดทำงาน และเมื่อแรงดันไฟฟ้ามีค่าต่ำกว่า % Unbalance บวกกับค่า Hysteresis จะทำการหน่วงเวลาแล้ว Relay กลับมาทำงาน      จากที่ผู้บรรยายได้อธิบายคุณสมบัติเบื้องต้นพอสังเขปนั้น ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการใช้งานของ VPM-06-Series เป็น Digital Voltage Protection Relay 2 Output ดังนี้   ยกตัวอย่างการใช้งานของ VPM-06-Series เป็น Digital Voltage Protection Relay 2 Output        จากตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน Digital Phase Protection Relay ในระบบไฟฟ้า 3 เฟส ในงานอุตสาหกรรมที่พบบ่อย สามารถบอกถึงข้อดีของการใช้ Digital Phase Protection Relay ในงานภาคอุตสาหกรรม ดังนี้      • สามารถป้องกันไม่ให้เครื่องจักรหรืออุปกรณ์เกิดความเสียหาย หากเกิดความผิดปกติของระบบไฟฟ้า อาทิ ป้องกันไฟตก-ไฟเกิน (Under-Over Voltage), เฟสขาดหาย (Phase Loss), เฟสไม่สมดุล (Phase Unbalance), สลับเฟส (Phase Sequence) เป็นต้น      • สามารถแสดงผลค่าแรงดันไฟฟ้าที่วัดได้ชัดเจนและเที่ยงตรง      • สามารถเก็บ Last Fault บันทึกการทริปครั้งล่าสุดพร้อมวันและเวลาที่เกิดขึ้น ซึ่งสามารถเรียกดูได้ (สำหรับรุ่น VPM-06-Series)      • มีระบบการทำงานของ Relay ที่แยกจากกัน 2 Channels โดยสามารถตั้งค่าได้อิสระในแต่ละ Channel ต่อกัน        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   Digital Phase Protection Relay VPM-05 ใช้กับตู้ควบคุมปั๊มน้ำ Digital Phase Protection Relay VPM-06 ใช้กับตู้ MDB ควบคุม Circuit Breaker Phase Protection Relay Electronics Overload Relay Compact Soft Start And Soft Stop Moter Signal Tower Light Rotation Warning Light โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
ข้อดีของการใช้โปรโตคอลสื่อสาร MQTT ร่วมกับ PLC+HMI ในงานภาคอุตสาหกรรม

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      MQTT (Message Queue Telemetry Transport) คือ โปรโตคอลสำหรับการส่งข้อมูลที่พัฒนามาเพื่อใช้ในระบบ IOT (Internet of Things) โดย MQTT (Message Queue Telemetry Transport) ถูกออกแบบให้สามารถส่งข้อมูลแบบ Real-Time ในปริมาณน้อย ๆ ทำให้ใช้พลังงานต่ำ MQTT (Message Queue Telemetry Transport) Process ตัวอย่าง MQTT (Message Queue Telemetry Transport) Process      หลักการทำงานของ MQTT (Message Queue Telemetry Transport) คือ การรับส่งข้อมูลระหว่าง Server (Broker) และ Clients (Publisher/Subscriber) ซึ่ง MQTT (Message Queue Telemetry Transport) ได้กลายเป็นหัวใจหลักในการรับส่งข้อมูลของ IOT (Internet of Things) แทน TCP/IP, HTTP ในปัจจุบัน เนื่องจากการสื่อสารของ HTTP นั้นเป็นแบบ Request and Response มีข้อจำกัดในการรับส่งข้อมูล โดย Client ต้องทำการ Request ไปยัง Server ทุกครั้งที่ต้องการข้อมูล โดยในระบบ IOT (Internet of Things) บางกรณีเราต้องการรับข้อมูลตลอดเวลาแบบ Real-Time จึงทำให้เกิดข้อจำกัดในการรับข้อมูล และนอกจาก HTTP และ TCP/IP ยังเป็นการรับส่งข้อมูลแบบ One-To-One ซึ่งเป็นการยากที่จะส่งข้อมูลทั้งหมดไปยังทุกอุปกรณ์ ทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรและพลังงานอย่างมาก      ปัจจุบันในงานภาคอุตสาหกรรมเกือบทุกประเภท ผู้ประกอบการหันมานิยมใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีเป็นตัวควบคุมการทำงานของเครื่องจักรแทนคน เพื่อลดปัญหาการ Error Manpower และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 24 ชั่วโมง ซึ่งตัวเลือกที่ผู้ประกอบการเลือกใช้คือการควบคุมเครื่องจักรแบบอัตโนมัติโดยใช้ PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) เป็นตัวควบคุมระบบและตรวจสอบการทำงานต่าง ๆ ของกระบวนการผลิตภายในโรงงานและสัญญาณต่าง ๆ ผ่านระบบและอุปกรณ์ที่ติดตั้งไว้ เมื่อ PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) พบความผิดปกติจากการทำงานของเครื่องจักรก็สามารถดำเนินการแก้ไขในแต่ละจุดได้ทันที โดยผ่านการแจ้งเตือน Alarm ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ไฟสัญญาณแจ้งเตือน (Signal Tower Light), Line, SMS Mobile, E-mail เป็นต้น หรือรูปแบบในการสื่อสาร หรือการรับส่งสัญญาณในระบบ Internet M91 MICRO-OPLC JAZZ MICRO-OPLC SAMBA V570 COLOR OPLC   V1040 COLOR OPLC V260 GRAPHIC/TOUCH OPLC V530 GRAPHIC/TOUCH OPLC UNISTREAM COLOR OPLC      ดังนั้น ในวันนี้ผู้บรรยายจะขอบรรยายถึงการสื่อสารข้อมูลต่าง ๆ ผ่านโปรโตคอล MQTT (Message Queue Telemetry Transport) ร่วมกับ PLC+HMI ที่กำลังเป็นที่รู้จักกันในปัจจุบันในหัวข้อ “ข้อดีของการใช้โปรโตคอลสื่อสาร MQTT ร่วมกับ PLC+HMI ในงานภาคอุตสาหกรรม” ว่าจะนำมาประยุกต์ใช้งานร่วมกับ PLC+HMI อย่างไรในปัจจุบัน รวมถึงข้อดีของการสื่อสารข้อมูลต่าง ๆ ผ่านโปรโตคอล MQTT (Message Queue Telemetry Transport) ร่วมกับ PLC+HMI ด้วย โดยผู้บรรยายจะขอยกตัวอย่างการเขียน HLadder สำหรับการสื่อสารข้อมูลต่าง ๆ ของเครื่องจักร ผ่านโปรโตคอลสื่อสาร MQTT กับ PLC+HMI รุ่น B7H ยี่ห้อ HAIWELL ดังนี้ ยกตัวอย่างการเขียนหรือตั้งค่าสำหรับการสื่อสารข้อมูลต่าง ๆ ของเครื่องจักร ผ่านโปรโตคอลสื่อสาร MQTT กับ PLC+HMI รุ่น B7H ยี่ห้อ HAIWELL และ Unitronics   ยกตัวอย่างรูปการประยุกต์ใช้งานการสื่อสารข้อมูลต่างๆ ของเครื่องจักร ผ่านโปรโตคอลสื่อสาร MQTT กับ PLC+HMI รุ่น V1210 ยี่ห้อ Unitronics      จากรูปเป็นรูปแบบการสื่อสารโดยใช้งานร่วมกับ PLC HAIWELL ผ่าน MQTT PROTOCAL ซึ่งสามารถกำหนดให้ HMI HAIWELL เป็น MQTT SEVER ได้โดยง่าย หรือจะใช้งานร่วมกับ DATABASE ของ MY SQL หรือ MSSQL ก็ได้ ซึ่งง่ายต่อการจัดการบันทีกข้อมูล      HMI HAIWELL ยังมีบริการ CLOUD MONITORING FREE ให้ใช้งานอีกด้วย ซึ่งต้องบอกว่าเป็นอุปกรณ์ที่ตอบโจทย์กับงาน IOT ในปัจจุบันได้เป็นอย่างดี      จากตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานการสื่อสารข้อมูลต่าง ๆ ของเครื่องจักร ผ่านโปรโตคอลสื่อสาร MQTT กับ PLC+HMI รุ่น V130 + HMI HAIWELL สามารถบอกถึงข้อดีของการใช้โปรโตคอลสื่อสาร MQTT ร่วมกับ PLC+HMI ในงานภาคอุตสาหกรรม      • สามารถควบคุมและสั่งการได้โดยทันทีเพื่อให้รวดเร็วต่อการดูแล      • สารมารถเข้าถึงการใช้งานและรับรู้การทำงานได้พร้อมกันทุกฝ่าย      • มีความปลอดภัยในการส่งข้อมูลสูง      • มีผู้ให้บริการทั้งแบบเสียเงินและแบบฟรี ขึ้นอยู่กับการใช้งาน      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน ระบบ Biogas ระบบควบคุมระบบปั๊มน้ำด้วย PID เครื่องควบคุมอิฐมวลเบา Jazz Micro-OPLC Vision Programmable Logic Control Vision Programmable Logic Control Vision Programmable Logic Control Vision Programmable Logic Control โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
การเลือกใช้ฮีตเตอร์ต้มน้ำ, ฮีตเตอร์จุ่ม (Immersion Heater) และฮีตเตอร์ท่อกลม (Tubular Heater) ให้เหมาะสมกับงานของเหลว

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      ฮีตเตอร์ (Heater) คือ อุปกรณ์ให้ความร้อนแก่ชิ้นงาน โดยใช้หลักการจ่ายกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดตัวนำ (ตัวความต้านทาน R) ซึ่งส่งผลให้ลวดตัวนำมีความร้อนเกิดขึ้น โดยแหล่งจ่ายไฟสามารถใช้ได้กับแรงดัน 220VAC และ 380VAC ปัจจุบันผู้อ่านสามารถพบการใช้ฮีตเตอร์ (Heater) ในงานภาคอุตสาหกรรมทุกประเภท ที่มีการสร้างความร้อนให้กับชิ้นงาน เช่น งานขึ้นรูปพลาสติก, งานอบอาหาร, ห้องอบสี เป็นต้น ซึ่งฮีตเตอร์ (Heater) ปัจจุบันมีหลากหลายชนิดขึ้นอยู่กับการนำไปใช้งาน โดยมีประเภทของฮีตเตอร์ (Heater) ดังนี้ โดยฮีตเตอร์ (Heater) ถูกแบ่งออกเป็นชนิดต่าง ๆ ตามลักษณะการใช้งานดังนี้      1. ฮีตเตอร์สำหรับใช้ให้ความร้อนกับของเหลวทุกชนิด เช่น ต้มน้ำ, อุ่นน้ำมัน, อุ่นสารเคมี เป็นต้น      2. ฮีตเตอร์สำหรับใช้ให้ความร้อนในอากาศเท่านั้น เช่น งานอบแห้ง, ไล่ความชื้น, ใช้ในท่อ Duct, งานเตาอบต่าง ๆ      3. ฮีตเตอร์สำหรับใช้ให้ความร้อนกับชิ้นงานโดยตรง เช่น งานแม่พิมพ์, เครื่องรีดถุงพลาสติก      โดยในวันนี้ทางผู้บรรยายจะขอนำเสนอเกี่ยวกับฮีตเตอร์สำหรับใช้ให้ความร้อนกับของเหลว ในหัวข้อ "การเลือกใช้ฮีตเตอร์ตัมน้ำ,ฮีตเตอร์จุ่ม (Immersion Heater) และฮีตเตอร์ท่อกลม (Tubular Heater) ให้เหมาะสมกับงานของเหลว" ว่ามีหลักการในการพิจารณาเลือกซื้อหรือเลือกใช้อย่างไร เพื่อให้เหมาะสมกับงานและให้ผลิตภัณฑ์ออกมามีคุณภาพ    ฮีตเตอร์ต้มน้ำ/จุ่ม (Immersion Heater) ให้ความร้อนกับของเหลว เช่น การอุ่นน้ำมัน, การต้มน้ำ ที่ไม่ทำปฏิกิริยากับสแตนเลส เหมาะกับอุตสาหกรรมที่ต้องอุ่นหรือต้มของเหลวทุกประเภท หรือของเหลวที่เหนียวข้น เช่น ยางมะตอย    ฮีตเตอร์ทิวบูล่าร์/ท่อกลม (Tubular Heater) ให้ความร้อนได้ทั้งอากาศ ของเหลว น้ำ เหมาะกับการใช้เพื่ออบสี อบชิ้นส่วนอะไหล่รถยนต์ อบใยผ้า อบพลาสติก อบอาหาร      ฮีตเตอร์ตัมน้ำ, ฮีตเตอร์จุ่ม (Immersion Heater) เป็นอุปกรณ์ให้ความร้อนหรืออุ่นต้มของเหลว (Liquid) เพื่อให้ได้อุณหภูมิตามต้องการ โดยการจุ่มลงไปในของเหลวที่ต้องการให้ความร้อน อาศัยหลักการในการถ่ายเทความร้อนสู่ของเหลวเพื่อให้เกิดความร้อน เหมาะกับงานอุตสาหกรรมที่มีการต้มหรืออุ่นของเหลว เช่น งานต้มน้ำ, งานอุ่นน้ำมัน, อุ่นหรือต้มเคมีบางชนิดที่ไม่มีผลต่อวัสดุของตัวฮีตเตอร์ (Heater) เช่น อุตสาหกรรมอาหาร, เครื่องดื่ม, อุตสาหกรรมพลาสติก เป็นต้น โดยฮีตเตอร์ต้มน้ำ, ฮีตเตอร์จุ่ม (Immersion Heater) มีลักษณะการติดตั้งแบบหน้าแปลนยึดและติดตั้งแบบยึดเกลียว และมีวัสดุให้เลือกใช้ตามความเหมาะสมกับงานทั้ง SUS 304, SUS 316, Incoloy 840, ทองแดง เป็นต้น รูปตัวอย่าง : ฮีตเตอร์ตัมน้ำ, ฮีตเตอร์จุ่ม (Immersion Heater) ลักษณะการติดตั้ง   ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานของ Immersion Heater (ฮีตเตอร์ต้มน้ำ, ฮีตเตอร์จุ่ม) ในเครื่องล้าง ตัวอย่างการติดตั้ง Immersion Heater ในเครื่องล้าง ให้ความร้อนกับน้ำ เพื่อเอาน้ำร้อนไปใช้ล้างคราบสิ่งสกปรกที่ตะกร้า/พาเลท เป็นต้น      **ข้อควรระวังในการใช้งานของฮีตเตอร์ต้มน้ำ, ฮีตเตอร์จุ่ม (Immersion Heater) ชนิดนี้คือ ต้องคำนึงถึงระยะ Heat Zone จะต้องไม่ให้โผล่พ้นของเหลว เพราะจะมีผลทำให้เกิดการเผาตัวเองและขาดในที่สุด**      ฮีตเตอร์ท่อกลม (Tubular Heater) คือ ฮีตเตอร์ท่อกลมแบบที่ไม่ติดครีบ สามารถดัดงอได้ตามลักษณะหน้างานการติดตั้ง สามารถใช้ให้ความร้อนได้ทั้งอากาศ ของเหลว และโมลด์โลหะ นิยมใช้ในงานอุตสาหกรรมทั่วไป เช่น ใช้ให้ความร้อนกับอากาศ เช่น ให้ความร้อนกับอากาศภายในห้อง, งานอบชิ้นงานอุตสาหกรรมรถยนต์, อบพลาสติก, อบไม้, อบแม่พิมพ์, อบสี, อบใยผ้า, ลดความชื้นในระบบทำความเย็น เป็นต้น ใช้ให้ความร้อนกับของเหลว เช่น ต้มน้ำในอ่างน้ำร้อน, เครื่องทำน้ำร้อนขนาดเล็ก เป็นต้น ใช้ให้ความร้อนกับโมลด์โลหะ เช่น งานแม่พิมพ์โลหะ เป็นต้น ฮีตเตอร์ท่อกลม (Tubular Heater) มีวัสดุให้เลือกใช้ตามความเหมาะสมกับงานทั้ง SUS 304, SUS 316, Incoloy 840, ทองแดง เป็นต้น และนอกจากนี้ยังสามารถดัดงอเป็นรูปร่างต่าง ๆ ได้หลากหลายตามลักษณะการติดตั้งหน้างาน โดยส่วนมากรูปแบบ Tubular Heater ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม มีดังนี้ ฮีตเตอร์ท่อกลมแบบตัว I (Tubular Heater I-Shape) ฮีตเตอร์ท่อกลมแบบตัว U (Tubular Heater U-Shape) ฮีตเตอร์ท่อกลมแบบตัว W (Tubular Heater W-Shape) ฮีตเตอร์ท่อกลมแบบขดยากันยุง   ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานของฮีตเตอร์ท่อกลม (Tubular Heater) ในเตาอุ่นอาหารไฟฟ้า ตัวอย่างการติดตั้ง Tubular Heater ในเตาอุ่นอาหารไฟฟ้า โดยการให้ความร้อนกับน้ำภายใต้ถาดอาหาร      จากข้อมูลข้างต้นจะสรุปได้ว่าในการเลือกใช้ฮีตเตอร์ตัมน้ำ, ฮีตเตอร์จุ่ม (Immersion Heater) และฮีตเตอร์ท่อกลม (Tubular Heater) ให้เหมาะสมกับงานของเหลว มีดังนี้      • กำลังวัตต์ : เนื่องจากค่ากำลังวัตต์ต่อพื้นที่ของ Immersion Heater จะมีค่ามากกว่า Tubular Heater ในกรณีที่ขนาดความยาวและขนาดท่อที่เท่ากัน ดังนั้นหากต้องการกำลังวัตต์ในการใช้งานที่มาก Immersion Heater จะได้กำลังวัตต์มากกว่า Tubular Heater      • ปริมาณของเหลว : งานที่มีปริมาณที่มีของเหลวมาก แนะนำให้ใช้เป็น Immersion Heater จะดีกว่าเนื่องจากสามารถทำวัตต์ได้มากกว่า และจะใช้จำนวนฮีตเตอร์ในการติดตั้งที่น้อยกว่า      • อุณหภูมิ : อุณหภูมิที่ใช้งานก็จะสืบเนื่องจากปริมาณของเหลวด้วยเช่นกัน หากมีปริมาณของเหลวมาก ในการทำอุณหภูมิก็จะต้องใช้เวลามาก กำลังวัตต์ที่ใช้งานก็จะสูงตาม ถ้าในกรณีเช่นนี้แนะนำเป็น Immersion Heater จะเหมาะสมกว่า      • พื้นที่การติดตั้ง : เนื่องจาก Immersion Heater คือการนำ Tubular Heater แบบ U-Shape มาประกอบเข้าเกลียว/หน้าแปลน ดังนั้น พื้นในการติดตั้งจึงมีผลเนื่องจาก Immersion Heater จะมีขนาดใหญ่ หากมีพื้นที่ให้ความร้อนน้อย เช่น ถาดอุ่นอาหารด้วยน้ำร้อน แนะนำให้เลือกใช้งานเป็น Tubular Heater จะเหมาะสมกว่า      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน Immersion Heater ในเครื่อง Boiler Immersion Heater ในกระบวนการ Pre-Heat Tubular Heater ต้มน้ำในไลน์ผลิต Heater Break Alarm Digital Monitor For Heater Break Alarm Digital Temperature Controller PID Control Function Temperature Sensor 3 Phase scr Power Regulator โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
6 เทคนิคในการเลือกซื้อหน้าจอแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Humidity Display) ในงานอุตสาหกรรม

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      ปัจจุบันการวัดและควบคุมหรือการแสดงผลค่าอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ (Temperature and Relative Humidity Measure) ของกระบวนการผลิตในงานภาคอุตสาหกรรมเป็นสิ่งจำเป็น ซึ่งในหลาย ๆ กระบวนการต้องมีค่าอุณหภูมิและค่าความชื้นสัมพัทธ์ (Temperature and Relative Humidity) ที่จำเป็นจะต้องตรวจสอบ วิเคราะห์หรือควบคุม เพื่อนำข้อมูลที่เก็บค่าได้มาทำการวิเคราะห์สาเหตุและนำไปปรับปรุงกระบวนการผลิตต่อไป ปรับปรุงเพื่อให้งานออกมาอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นนอกจากผู้ใช้จะพิจารณาเลือกชนิดของเซ็นเซอร์อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ (Temperature and Relative Humidity Measure) ที่ผู้บรรยายได้เคยอธิบายไว้ในหัวข้อ “การเลือกใช้ Humidity and Temperature Transmitter ให้เหมาะสมกับงาน” , “ข้อดีของการใช้อุปกรณ์วัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ในตัวเดียวกันกับงานห้อง Oven [Duct Mount Humidity & Temperature Transmitter (High Temp. 0-150 °C)]” ที่ผ่านมาแล้วนั้น      ยกตัวอย่างชนิดของเซ็นเซอร์อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ (Temperature and Relative Humidity Measure) อุปกรณ์วัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ในตัวเดียวกัน (Duct Mount Humidity & Temperature Transmitter) อุปกรณ์วัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ในตัวเดียวกัน (Wall Mount Humidity & Temperature Transmitter) อุปกรณ์วัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ในตัวเดียวกัน (Wireless Humidity & Temperature Transmitter) อุปกรณ์ควบคุมความชื้นและอุณหภูมิแบบดิจิตอลภายในตู้ไฟฟ้า, ตู้คอนโทรล (Digital Hygrostat and Thermostat Controller) RHM-005-Series ยี่ห้อ Primus HM-N-Series ยี่ห้อ Primus HM-007-Series ยี่ห้อ Primus CMA-004-Series ยี่ห้อ Primus      สิ่งที่สำคัญผู้ใช้จะต้องพิจารณาเลือกหน้าจอแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Relative Humidity Display) ให้เหมาะสมกับการใช้งานด้วย ดังนั้นในวันนี้ผู้บรรยายจะขออธิบายถึงคุณสมบัติและข้อดี รวมถึงเทคนิคการพิจารณาและเลือกใช้หน้าจอแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Relative Humidity Display) ในหัวข้อ “6 เทคนิคในการเลือกซื้อหน้าจอแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Humidity Display) ในงานอุตสาหกรรม”      โดยหน้าจอแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น (Temperature and  Humidity Display) คือ อุปกรณ์วัดและแสดงผลค่าอุณหภูมิและความชื้น โดยสามารถรับเซ็นเซอร์อุณหภูมิประเภท Temperature Sensor อาทิ Thermocouple, RTD (PT100), NTC, PTC และเซ็นเซอร์ความชื้นสัมพัทธ์ (Humidity Sensor) ได้ โดยอุปกรณ์วัดและแสดงผลค่าอุณหภูมิและความชื้นอาจมี Option เพิ่มเป็น Alarm หรือ Communication RS-485 เพื่อเชื่อมต่อหรือส่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์อื่น ๆ อาทิ PLC, PC หรือ Internet Could ได้ โดยปัจจุบันผู้ใช้สามารถพบเห็นหน้าจอแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Humidity Display) ในงานภาคอุตสาหกรรมทั่วไป ดังนี้      หน้าจอแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Humidity Display) เครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator) เครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator) 4 แชนแนลเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator) เครื่องแสดงผลค่าอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Temperature Indicator) CM-004N-Series ยี่ห้อ Primus TIM-94N-Series ยี่ห้อ Primus TIM-94N-4CH-Series ยี่ห้อ Primus CMA-006N-Series ยี่ห้อ Primus เครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Bar Graph Digital Indicator) เครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) เครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) TIM-95G-Series ยี่ห้อ Primus TIM-94B-Series ยี่ห้อ Primus TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus      จากข้อมูลตารางหน้าจอแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Humidity Display) ที่มีให้ผู้ใช้ได้เลือกหลากหลาย ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus โดยเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus เป็นอุปกรณ์วัดและแสดงผลค่าอุณหภูมิและความชื้น โดยรับสัญญาณมาจาก Humidity & Temperature Transmitter รุ่น HM-006N-00 ซึ่งแสดงผลด้วย 7-Segment ขนาด 2.3 นิ้ว และ 4 นิ้ว จำนวน 4 หลัก 2 แถว มองเห็นได้ชัดเจน มี Alarm Relay Output 2 Contact 5A 250VAC/5A 30VDC(NO, NC) 4 Alarm Function ในการตั้งค่าสำหรับตัดต่อ Load ได้ตามต้องการสามารถแสดงสัญลักษณ์ขีดล่างเมื่อกรณีที่ Humidity & Temperature Transmitter เกิดการเสียหาย สามารถติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์โดยผ่าน RS-485, Protocol MODBUS และมีห่วงยึดสำาหรับการติดตั้ง เหมาะสำหรับงานการผลิตในอุตสาหกรรม แสดงผลแบบ Real Time สามารถแจ้งเตือนผ่าน Alarm Relay Output เมื่อเกิดความ เครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus การติดตั้งเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus      จากข้อมูลคุณสมบัติเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus ร่วมกับ อุปกรณ์วัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ในตัวเดียวกัน (Wall Mount Humidity & Temperature Transmitter) และสามารถส่งข้อมูลเพื่อเก็บค่าอุณหภูมิและความชื้นเพื่อนำไปวิเคราะห์และตรวจสอบต่อไป      ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus ร่วมกับ อุปกรณ์วัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ในตัวเดียวกัน (Wall Mount Humidity & Temperature Transmitter) และสามารถส่งข้อมูลเพื่อเก็บค่าอุณหภูมิและความชื้นเพื่อนำไปวิเคราะห์และตรวจสอบต่อไป      จากตัวอย่างและคุณสมบัติที่ทางผู้บรรยายได้กล่าวมาข้างต้น ผู้บรรยายขอแนะนำเทคนิคการพิจารณาเลือกซื้อเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) ดังนี้      1. ชนิดของเซ็นเซอร์ หรือ Input เป็นประเภทใด?           เพื่อเลือกเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator) ให้เหมาะสมจำเป็นจะต้องพิจารณาประเภทเซ็นเซอร์ ที่ต้องการใช้งานเพื่อสามารถรองรับใช้งานกับเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator) ได้หรือไม่?      ยกตัวอย่างการพิจารณาด้าน Input ของเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus      ***หมายเหตุ : เครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus จะสามารถรับ Type Input : RS-485 จาก HM-006N (Temperature and Relative Humidity Transmitter)      2. ความละเอียดหรือความแม่นยำในการแสดงผลหรืออ่านค่า (Accuracy)           เพื่อเลือกเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator) ให้มีประสิทธิภาพควรพิจารณาค่าความละเอียดหรือความแม่นยำในการแสดงผล หรืออ่านค่า (Accuracy) ที่มีระบุไว้ใน Datasheet หรือ Nameplate ของตัวอุปกรณ์ เพื่อไม่ให้เกิดค่าผิดเพี้ยน Error      ยกตัวอย่างการพิจารณาความละเอียดหรือความแม่นยำในการแสดงผล หรืออ่านค่า (Accuracy) ของเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus      3. พิจารณาข้อมูลด้านการสื่อสารหากต้องการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่น ๆ           หากผู้ใช้งานต้องการสื่อสารเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator) กับอุปกรณ์อื่น ๆ อาทิ PLC, Computer หรือขึ้น Internet Could เพื่อต้องการ Monitor หรือเก็บข้อมูล สิ่งสำคัญจำเป็นจะต้องพิจารณาข้อมูล ชนิดของ Protocol และอัตราการสื่อสาร Baud Rate      ยกตัวอย่างการพิจารณาความละเอียดหรือความแม่นยำในการแสดงผล หรืออ่านค่า (Accuracy) ของเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus      4. พิจารณาเลือกจำนวนหลักและจำนวนแถวในการแสดงผลผ่านบนหน้าจอ และรวมไปถึงขนาดของ 7-Segment ด้วย      ยกตัวอย่างการพิจารณาจำนวนหลักและจำนวนแถวในการแสดงผลผ่านหน้าจอ และรวมไปถึงขนาดของ 7-Segment ด้วย ของเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus      5. พิจารณาอุณหภูมิและความชื้นในการเก็บรักษาและการใช้งาน           อุณหภูมิและความชื้นในการเก็บรักษาและการใช้งาน เพื่อทำให้การใช้งานได้ยาวนานและการแสดงผลไม่ผิดเพี้ยน      ยกตัวอย่างการพิจารณาอุณหภูมิและความชื้นในการเก็บรักษาและการใช้งานของเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus      6. พิจารณาระดับการป้องกัน IP           เป็นระดับการป้องกันเรื่องฝุ่นและน้ำตามมาตรฐานอุตสาหกรรม      ยกตัวอย่างการพิจารณาพิจารณาระดับการป้องกัน IP ของเครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล (Digital Indicator Big Display) รุ่น TGA-004B-Series ยี่ห้อ Primus      ดังนั้นจากคุณสมบัติและหลักการพิจารณา “6 เทคนิคในการเลือกซื้อหน้าจอแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Humidity Display) ในงานอุตสาหกรรม” สามารถบอกถึงข้อดีของหน้าจอแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Humidity Display) ดังนี้      ข้อดีของหน้าจอแสดงผลอุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Humidity Display)      1. สามารถแสดงค่าอุณหภูมิและความชื้นในตัวเดียวกัน ประหยัดค่าใช้จ่ายในการต้องซื้อหน้าจอแสดงผลเพิ่ม      2. มีการแสดงผลด้วยตัวเลขที่ใหญ่ มองเห็นได้ชัดเจน      3. มีความแม่นยําการวัดค่าอุณหภูมิและความชื้น      4. สามารถเก็บค่าการวัดค่าอุณหภูมิและความชื้นได้ โดยผ่าน RS-485 Protocol MODBUS      5. สามารถส่งอุปกรณ์ไป Calibration เพื่อออกเอกสาร Certificate ได้      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน ห้องเซิร์ฟเวอร์ คลังสินค้า โรงงานประกอบอิเล็กทรอนิกส์ Digital Indicator,Universal Input Digital Indicator With Alarm Unit Digital Indicator เครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล Digital Temperature Indicator Wireless Humidity & Temperature Transmitter อุปกรณ์วัดความชื้น Prisoft เป็น Software Web Server Monitoring System โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
แนะนำการจัดการพลังงานด้วย Prisoft Energy ร่วมกับมิเตอร์น้ำ (Water Meter)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      ระบบบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System : EMS) หมายถึง ระบบอัตโนมัติที่นำเข้ามาใช้ในการวิเคราะห์และควบคุมการใช้พลังงาน อาทิ V-Line, V-Phase, V-Average, V-Line, A-Average, A-Neutral, KW, KVA, KVAR, PF, Frequency, Demand, ค่าอุณหภูมิและความชื้น เป็นต้น เพื่อให้เป็นไปอย่างเหมาะสม โดยเป็นการเชื่อมต่อประสานงานกันระหว่างอุปกรณ์ตรวจวัดต่าง ๆ กับระบบควบคุมอุปกรณ์เครื่องมือวัดไฟฟ้าอัตโนมัติบนโครงสร้างของระบบเครือข่าย (Network) ที่เป็นการจัดการผ่านโปรแกรม (Software) ในการ Monitoring      ปัจจุบัน Software โปรแกรมบริหารจัดการพลังงาน อาทิ ด้านไฟฟ้า, อุณหภูมิ, ความชื้น เป็นต้น ผู้ใช้งานสามารถพบเห็นในงานด้านอุตสาหกรรมมากมาย โดยวันนี้ผู้บรรยายขอยกตัวอย่าง Software Prisoft เป็น Software ที่ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถบริหารและวางแผนการใช้ระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย Software Prisoft สามารถแสดงผลและบันทึกค่าทางไฟฟ้าหรือค่าอุณหภูมิและความชื้นได้ ดังนี้ V-Line, V-Phase, V-Average, V-Line, A-Average, A-Neutral, KW, KVA, KVAR, PF, Frequency, Demand, Demand Control, RunningHour, Total Harmonics-Volt, Total Harmonics Current, Efficiency (%), Load (%), Partial Harmonics หรือค่าอื่น ๆ ที่มิเตอร์สามารถอ่านค่าได้ นอกจากนี้ Software Prisoft ยังเป็น Software Web Server Monitoring System ที่สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์บน TCP/IP, RS485, RS232 และ LoRaWan หรือใช้ร่วมกับมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ได้ โดยจะทำหน้าที่อ่านค่าตัวแปรที่ผู้ใช้ต้องการ ผ่านระบบสื่อสารและนำมาเก็บข้อมูลใน Database บนเครื่อง PC และนำข้อมูลไปแสงดผลยังหน้า Webpage      ตัวอย่างการใช้งาน kWh Meter และ Water Meter ร่วมกับ Software Prisoft ผ่านเครือข่ายแบบไร้สาย LoraWan      ตัวอย่าง Software PRISOFT สามารถใช้งานร่วมกับระบบ LoRa เพื่อลดปัญหาการเดินสายสัญญาณ      มิเตอร์น้ำ (Water Meter) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่คำนวณปริมาตรน้ำที่แตกต่างกันอยู่ภายใน ตามแต่ประเภทของมิเตอร์น้ำ (Water Meter) หรือมาตรวัดน้ำ อาทิ มาตรวัดน้ำแบบ Single Jet, มาตรวัดน้ำแบบ Multi Jet, มิเตอร์น้ำแบบ Piston และมาตรวัดน้ำที่ใช้หลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า เมื่อน้ำไหลผ่านอุปกรณ์การวัดจะหมุนหรือคำนวณตามปริมาตรของน้ำที่ไหลผ่าน อุปกรณ์การวัดจะมีการเชื่อมต่อกับแกนหมุนตัวเลข หรือส่งสัญญาณไฟฟ้าไปยังชุดแสดงผลเพื่อจะแสดงค่าของปริมาณน้ำที่หน้าปัด เป็นต้น โดยผู้อ่านสามารถศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อมูลมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ในหัวข้อ “ประเภทและการเลือกใช้มิเตอร์น้ำ (Water Meter) ในงานอุตสาหกรรมและอาคาร, ที่พักอาศัย” ที่ผ่านมา      โดยผู้บรรยายขอยกตัวอย่างลักษณะของมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ยี่ห้อ B-Meter ที่ผู้อ่านสามารถพบเห็นในงานอุตสาหกรรมทั่วไป ดังนี้ Single Jet Multi Jet Woltmann Model : CPR-M3-I Model : GMB-I Model : WDE-K50           นอกจากนี้การเลือกมิเตอร์ก็เป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้ตอบโจทย์ความต้องการในการใช้งาน โดยหากผู้ใช้มีความต้องการวัดและวิเคราะห์ค่าพลังงานทางไฟฟ้าและปริมาณการใช้น้ำ ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างมิเตอร์ที่สามารถวัดค่าพลังงานทางไฟฟ้าและสามารถวัดและแสดงผลการใช้น้ำเป็นลูกบาศก์เมตร (m3) จาก Pulse ของมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ได้ รุ่น KM-24-L ยี่ห้อ Primus ที่มีการสื่อสารแบบไร้สาย LoRaWAN ดังนี้ 1 Phase kWh Meter with LORAWAN Model : KM-24-L ลักษณะการติดตั้งของ 1 Phase kWh Meter with LORAWAN Model : KM-24-L      โดย KM-24-L ยี่ห้อ Primus เป็นมิเตอร์วัดค่าพลังงานไฟฟ้า 1 Phase kWh Meter with LORAWAN แบบไร้สาย LoRaWAN (LoRa Meter, มิเตอร์วัดค่าทางไฟฟ้าและน้ำ, มิเตอร์สำหรับอะพาร์ตเมนต์) ส่งข้อมูลแบบไร้สายได้ไกลถึง 500 m. สำหรับในอาคาร และ 1000 m. สำหรับนอกอาคาร สามารถติดตั้งมิเตอร์ไร้สาย ทำให้ประหยัดค่าแรงในการเดินสายและลดอุปกรณ์ โดยจะส่งสัญญาณเข้าระบบ ผ่าน LoRa Gateway เป็นตัวรับสัญญาณเข้า Computer สามารถวัดและแสดงค่าแรงดันไฟฟ้า (V), กระแสไฟฟ้า (A), กําลังไฟฟ้า (kW), พลังงานไฟฟ้า (kWh) และแสดงผลการใช้น้ำเป็นลูกบาศก์เมตร (m3) โดยรับ Pulse ของมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ได้ มี Input สำหรับ Pulse จากมิเตอร์น้ำ (Water Meter) เพื่อส่งข้อมูลการใช้น้ำเป็นลูกบาศก์เมตร (m3) ร่วมด้วย ให้ความถูกต้องในการจดบันทึก ประหยัดค่าใช้จ่าย แสดงผล 7-Segment LED แถวบนแสดงค่า Volt และ Amp แถวล่างแสดงค่า kW, kWh และการใช้น้ำเป็นลูกบาศก์เมตร (m3) สลับกันตลอดเวลา ใช้กับกระแสไฟฟ้าได้โดยตรงสูงสุดถึง 45A      โดยในวันนี้ผู้บรรยายจะขอกล่าวถึงการนำระบบบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System : EMS) ด้วย Software Prisoft มาใช้ร่วมกับมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ในหัวข้อ “แนะนำการจัดการพลังงานด้วย Prisoft Energy ร่วมกับมิเตอร์น้ำ (Water Meter)” จากข้อมูลที่ผู้บรรยายได้กล่าวถึงคุณสมบัติของ Software Prisoft และมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ไว้ข้างต้นนั้น ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานระบบบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System : EMS) ด้วย Software Prisoft มาใช้ร่วมกับมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ดังนี้      ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน ระบบบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System : EMS) ด้วย Software Prisoft มาใช้ร่วมกับมิเตอร์น้ำ (Water Meter)      ใช้ Software Prisoft ร่วมกับมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ในการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำและคำนวณค่าใช้จ่ายของโรงแรม, หอพัก แบบอัตโนมัติ โดยต่อใช้งานร่วมกับ PB-02 เพื่อแปลงสัญญาณเข้าระบบ Network ส่งค่ามายัง Software      ดังนั้นผู้บรรยายสามารถสรุปข้อดี "การจัดการพลังงานด้วย Prisoft Energy ร่วมกับมิเตอร์น้ำ (Water Meter)" ได้ดังนี้      1. สามารถดูข้อมูลผ่าน Monitor ได้แบบ Real Time และได้รับการแจ้งเตือนที่รวดเร็วขึ้น      2. สามารถดูข้อมูลย้อนหลังด้วยกราฟ จากกลุ่ม Tag ที่ผู้ใช้งานสามารถกำหนดเองได้ และยังสามารถ Export ข้อมูลเป็น Excel      3. สามารถวิเคราะห์ความต้องการใช้กำลังไฟฟ้าและทำบิลค่าไฟฟ้า โดยรองรับระบบการคิดค่าไฟฟ้าแบบ Normal Rate, TOU และ TOD      4. ลดขั้นตอนและลดข้อผิดพลาดในการเดินจดค่ามิเตอร์ไฟฟ้าและค่าน้ำประปา      5. สามารถบริหารข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ โดยผ่านระบบ Software Web Server Monitoring System (Prisoft)      6. การลด Downtime      7. ลดต้นทุนในการ Wiring สาย      8. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน      การใช้งานระบบบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System : EMS) ด้วย Software Prisoft มาใช้ร่วมกับมิเตอร์น้ำ (Water Meter) เหมาะสำหรับอุตสาหกรรมประเภทดังนี้      • คอนโดมิเนียม, หอพัก, ตึกอาคารสูง      • อุตสาหกรรมบ่อบำบัดน้ำเสีย      • โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ           ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน คำนวณปริมาณการใช้น้ำ, ไฟฟ้าหอพัก แบบอัตโนมัติ วัดปริมาณการใช้น้ำในอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมบ่อบำบัดน้ำเสีย Water Meter Single Phase kWh-Meter With LoRa Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter Twin Pump Relay ควบคุมการทำงานของปั๊ม Twin Pump Controller ควบคุมการทำงานของปั๊ม โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
การเลือกใช้ Cartridge Heater/Finned Heater ให้เหมาะสมกับงาน

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      คาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง เป็นฮีตเตอร์สำหรับให้ความร้อนกับชิ้นงานหรือวัตถุโดยตรง โดยใช้หลักการนำความร้อนที่คงที่และสม่ำเสมอให้กับชิ้นงาน เช่น การให้ความร้อนกับแม่พิมพ์, หัวพ่นกาว, แผ่นเพลท, เครื่องพิมพ์ทอง, หัวปั๊ม, ชิ้นงานเหล็ก, เครื่องรีดถุงพลาสติก, เครื่องห่อซองพลาสติกใส่อาหารและขนม เป็นต้น      ตัวอย่างรูปคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง      โดยทั่วไปแล้วคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง ถูกแบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบ High Density ให้ความร้อนสูง และแบบ Low Density ให้ความร้อนต่ำหรือปานกลาง ดังนี้ คาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง แบบ High Density คาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง แบบ Low Density      Cartridge Heater แบบ High Density โดยที่ข้อดีของ Cartridge Heater แบบ High Density คือ จะเป็นฮีตเตอร์ให้กำลังวัตต์สูง ให้ความร้อนได้ดี มีความทนทาน ใช้งานได้ยาวนานกว่า เหมาะกับงานที่ต้องการอุณหภูมิสูง โดย Cartridge Heater แบบ High Density มีหลักการและขั้นตอนในการผลิตที่ต้องรีดท่อโลหะที่มีตัวนำและฉนวนแมกนีเซียมออกไซด์ภายใน โดยจะถูกบีบอัดแน่น จึงทำให้ทนอุณหภูมิได้สูง และมีกำลังวัตต์สูง วัตต์ต่อพื้นที่ (Watt/cm²) สูงขึ้น      Cartridge Heater แบบ Low Density โดยที่ข้อดีของ Cartridge Heater แบบ Low Density คือ จะเป็นฮีตเตอร์ที่ให้กำลังวัตต์ต่ำจนถึงปานกลาง มีราคาถูก เหมาะกับงานที่ไม่ต้องการอุณหภูมิที่สูงมากเท่านั้น โดย Cartridge Heater แบบ Low Density มีหลักการและขั้นตอนในการผลิต จะร้อยลวดตัวนำกับฉนวนแมกนีเซียมออกไซด์และใส่ผงแมกนีเซียมออกไซด์ ช่องว่างระหว่างท่อโลหะกับลวดตัวนำ แต่จะไม่ถูกบีบอัดให้แน่น จึงทำให้ทำกำลังวัตต์ได้ไม่สูง วัตต์ต่อพื้นที่ (Watt/cm²) ไม่สูง        ฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater) เป็นฮีตเตอร์ท่อกลม (Tubular Heater) ที่มีครีบสแตนเลสช่วยในการกระจายความร้อนออกจากตัวฮีตเตอร์ (Finned Heater) เพื่อให้ความร้อนในงานอากาศที่ต้องใช้ความร้อนกับชิ้นงาน โดยใช้หลักการการนำพาความร้อน เหมาะสำหรับใช้งานในตู้อบหรืองานที่ต้องให้ความร้อนกับอากาศภายในห้อง เช่น งานอบชิ้นงานอุตสาหกรรมรถยนต์, อบพลาสติก, อบไม้, อบแม่พิมพ์, อบสี, อบใยผ้า, ลดความชื้นในระบบทำความเย็น เป็นต้น โดยต่อใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor), เครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller), โซลิตสเตทรีเลย์ (Solid State Relay) เพื่อควบคุมในระบบ      ตัวอย่างรูปฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater)      ฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater) จะมีรูปร่าง (Shape) แบบต่าง ๆ โดยมีลักษณะติดตั้งแบบไม่มีเกลียวและลักษณะติดตั้งแบบมีเกลียว ดังนี้ ฮีตเตอร์ครีบแบบตัว U (U-Shape Finned Heater) ฮีตเตอร์ครีบแบบตัว I (I-Shape Finned Heater) • ติดตั้งแบบไม่มีเกลียว • ติดตั้งแบบมีเกลียว • ติดตั้งแบบไม่มีเกลียว • ติดตั้งแบบมีเกลียว   ฮีตเตอร์ครีบแบบตัว W (W-Shape Finned Heater) ฮีตเตอร์ครีบแบบเหลี่ยม (R-Shape Finned Heater) • ติดตั้งแบบไม่มีเกลียว • ติดตั้งแบบมีเกลียว • ติดตั้งแบบไม่มีเกลียว        จากข้อมูลของคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง และ ฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater) ที่ผู้บรรยายได้บรรยายเกี่ยวกับหลักการและความหมายดังข้างต้นนั้น วันนี้ผู้บรรยายจะขอกล่าวถึงการแนะนำวิธีการเลือกใช้งานให้เหมาะสมของฮีตเตอร์ (Heater) ทั้ง 2 ประเภทนี้ ในหัวข้อ “การเลือกใช้ Cartridge Heater (ฮีตเตอร์แท่ง) / Finned Heater (ฮีตเตอร์ครีบ) ให้เหมาะสมกับงาน” ดังนี้      1. คาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง เหมาะสำหรับใช้ให้ความร้อนแก่แม่พิมพ์ที่เป็นโลหะ, ชิ้นงานเหล็ก, เครื่องปั๊มทอง, เครื่องรีดถุงพลาสติก, งานขึ้นรูป โดยสามารถยกตัวอย่างการต่อใช้งานดังนี้      หมายเหตุ : ข้อควรระวังในการติดตั้งคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง ในรูแม่พิมพ์ ขนาดของรู (Hole) ที่ใส่ควรมีขนาดโตกว่าฮีตเตอร์ (Heater) ประมาณ 0.02-0.05 mm. เพื่อให้การถ่ายเทความร้อนมีประสิทธิภาพสูงสุดและเป็นการยืดอายุการใช้งานของฮีตเตอร์ (Heater) ดังรูปตัวอย่าง      ข้อควรระวังในการติดตั้งคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่งในรูแม่พิมพ์      ตัวอย่างการระบุรายละเอียดของคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง      ยกตัวอย่างการติดตั้งใช้งานคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง กับเครื่องแพ็ค, เครื่องบรรจุ      ยกตัวอย่างการติดตั้งใช้งานคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง กับเครื่องแพ็ค, เครื่องบรรจุ ข้อสำคัญในการพิจารณาเลือกซื้อคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง ให้เหมาะสมกับหน้างานควรพิจารณาอะไรบ้าง?      • ขนาดแกน (D) mm. และขนาดความยาว (L) mm. ของคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง      • แรงดัน (V) และกำลังไฟฟ้า (W) ของคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง      • ชนิดของสาย (สายแข็งและสายอ่อน) ของคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง      • ชนิดการหุ้มสาย (Heater Wire, สแตนเลสถัก SUS 304, ท่อ Flexible) ของคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง      • ความยาวสาย (M) ของคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง      • การกำหนดระยะของ Heat Zone และ Cool Zone ของคาร์ทริดจ์ฮีตเตอร์ (Cartridge Heater) หรือ ฮีตเตอร์แท่ง      2. ฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater) เหมาะสำหรับใช้ในงานอบชิ้นงานอุตสาหกรรมรถยนต์, อบพลาสติก, อบไม้, อบแม่พิมพ์, อบสี, อบใยผ้า, ลดความชื้นในระบบทำความเย็น เป็นต้น โดยสามารถยกตัวอย่างการต่อใช้งานดังนี้      ยกตัวอย่างการติดตั้งใช้งานฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater) ในเครื่องชิงค์ฟิล์ม (Shrink Film)      จากตัวอย่างการติดตั้งใช้งานฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater) ในเครื่องชิงค์ฟิล์ม (Shrink Film) ข้อสำคัญในการพิจารณาเลือกซื้อฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater) ให้เหมาะสมกับหน้างานควรพิจารณาอะไรบ้าง?      • เลือกรูปร่างแบบ U-Shape Finned Heater, I-Shape Finned Heater, W-Shape Finned Heater หรือ R-Shape Finned Heater      • ขนาดแกน (D) mm. และขนาดความยาว (L) mm. ของฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater)      • แรงดัน (V) และกำลังไฟฟ้า (W) ของฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater) ให้เหมาะสมกับงานที่ใช้      • ระยะห่างระหว่างของ U-Shape Finned Heater และของ W-Shape Finned Heater      • กรณีติดตั้งฮีตเตอร์ (Heater) ควรเลือกพัดลมขนาดที่เหมาะกับจำนวนของฮีตเตอร์ (Heater) เพื่อใช้ในการนำพาความร้อนไปใช้งาน      • ไม่ควรใช้กับงานลักษณะร่วมกับของเหลว เนื่องจากจะเกิดตะกรันจับที่ครีบของฮีตเตอร์ (Heater) ทำให้ความร้อนไม่สามารถถ่ายเทได้      • กรณีที่ให้ความร้อนกับอากาศที่ไม่หมุนเวียนควรเลือกวัสดุที่ใช้ทำฮีตเตอร์ (Heater) เป็นอินโคลอยด์ เนื่องจากมีคุณสมบัติถ่ายเทความร้อนได้ดีและทนอุณหภูมิได้สูงกว่าชนิดอื่น      นอกจากข้อควรระวังดังกล่าวมาข้างต้น อีกหนึ่งปัจจัยหลักที่สำคัญในการเลือกฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater) คือ การคำนวณอุณหภูมิและขนาดวัตต์ (Watt) ของฮีตเตอร์ (Heater) ที่กล่าวไว้ในหัวข้อ การคำนวณเลือกฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater) ให้เหมาะสมกับงาน ที่ผ่านมา      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน ตู้อบลมร้อน สำหรับอบแห้งอาหาร (Finned Heater) เครื่องบรรจุ แบบแนวนอน (Cartridge Heater) งาน Duct Heater ทำความร้อนในตู้อบ การอบชิ้นงาน (Finned Heater) Digital Monitor For Heater Break Alarm Heater Break Alarm Phase Anglel Solid State Relay 3-Phase SCR Power Regulator Digital Temperature Controller PID Control Function โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
6 ข้อดีของ Dry Run Protection Relay ในการป้องกันปั๊มน้ำ ปั๊มเคมีไหม้ เนื่องจากน้ำแห้ง น้ำขาด

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      โดย Dry Run Protection Relay จะทำหน้าที่ป้องกันโหลดของมอเตอร์ (Load Motor), ปั๊มน้ำ (Water Pump), ปั๊มเคมี (Chemical Pump) หรือปั๊มน้ำบาดาลไม่ให้เดินตัวเปล่าโดยไม่มีน้ำ เพราะจะทำให้ปั๊มน้ำ (Water Pump) เกิดความเสียหาย เนื่องจากชุดกลไกหรือใบพัดนั้นจะต้องมีน้ำมาในระบบเสมอ ไม่อย่างนั้นจะทำให้ชุดขับเคลื่อนภายในเกิดความร้อนและละลายได้ ทำให้เสียหายต่อชุดปั๊มน้ำเป็นอย่างมาก โดยทั่วไปแล้วจะต้องมีชุดป้องกัน เช่น ตัว Dry Run Protection Relay ไว้เช็คเวลาปั๊มน้ำเดินตัวเปล่าเนื่องจากปั๊มน้ำมีราคาค่อนข้างสูง Dry Run Protection Relay จะเช็คค่าความเปลี่ยนแปลงของ PF (Power Factor) หรือ กระแสของมอเตอร์ปั๊มน้ำ กรณีมีน้ำในระบบ ค่า PF (Power Factor) หรือกระแสจะสูง และตอนไม่มีน้ำในระบบหรือน้ำเริ่มน้อยลงในท่อส่งน้ำ ค่า PF (Power Factor) หรือกระแสจะต่ำ Dry Run Protection Relay จะเช็คความผิดปกติแล้วสั่งตัดการทำงานของมอเตอร์ปั๊มน้ำทันที สามารถต่อใช้งานได้ 2 แบบ โดยเลือกตามพิกัดกระแสของมอเตอร์ แบบ Direct สามารถใช้กับมอเตอร์ปั๊มน้ำได้สูงสุดถึง 40 Amp และแบบต่อใช้งานกับ CT ภายนอกโดยการตั้งค่า CT Ratio ตามค่า CT ที่ใช้งาน สามารถต่อใช้งานสำหรับระบบไฟ 3 เฟส และระบบไฟ 1 เฟสได้ในตัวเดียวกัน มี Function Start Delay Timer หน่วงเวลาช่วง เพื่อให้น้ำเต็มท่อก่อนแล้วค่อยตรวจสอบระบบ มี Function Off Delay Timer หน่วงเวลาตัดการทำงานของปั๊มน้ำ มี Function Recovery Time หน่วงเวลาให้ปั๊มเริ่มทำงานเองอัตโนมัติเหมาะกับปั๊มบาดาลเนื่องจากเวลาที่น้ำแห้งแล้วจะกลับมาทำงานเองอัตโนมัติตามเวลาที่ตั้งค่า แสดงผลที่หน้าจอได้ทั้งค่า PF และ กระแส (Amp) Dry Run Protection Relay รุ่น PM-007N ยี่ห้อ Primus ขนาดและมิติของ Dry Run Protection Relay รุ่น PM-007N ยี่ห้อ Primus      จากบทความครั้งที่แล้วที่เราได้นำเสนอกันไปในหัวข้อ “วิธีป้องกันปั๊มน้ำ, ปั๊มเคมี ไหม้หรือเสียหาย ด้วย Dry Run Protection?” โดยผู้บรรยายได้กล่าวถึงเงื่อนไขการทำงานของ Dry Run Protection Relay เกี่ยวกับ Function การทำงานของ Relay Output ที่ผู้ใช้สามารถเลือกได้ 2 Function ดังนี้ การตั้งค่า PF เป็น Under Protection (Un) การตั้งค่า PF เป็น Over Protection (Ov)      คือ ถ้าค่าที่วัดได้ต่ำกว่าค่า Setpoint ที่ตั้งไว้ PF = 0.8 (ขึ้นอยู่กับ Name Plate Motor แต่ละรุ่น) Relay Output จะสั่ง Motor หยุดทำงานหลังจากครบเวลา OFF Delay Time (DT) ที่ตั้งไว้ และจะกลับมาทำงานอีกครั้งหลังจากครบเวลา Recovery Time (RT) โดยตัว Dry Run จะสั่งให้มอเตอร์ปั๊มน้ำทำงานอีกครั้งแบบ Auto โดย Function นี้จะเหมาะสำหรับบ่อบาดาล เวลาน้ำแห้งจะสั่งตัดระบบและจะกลับมาทำงานในตอนมีน้ำ      คือ ถ้าค่าที่วัดได้สูงกว่าค่า Setpoint ที่ตั้งไว้ Relay Output จะสั่ง Motor หยุดทำงาน หลังจากครบเวลา OFF Delay Time (DT) ที่ตั้งไว้ ใช้กับงานประเภทป้องกันเกียร์ที่มี Ratio สูง ๆ รอบช้า ๆ เมื่อเกียร์รับโหลดมากกว่าปกติจะทำให้เกียร์เสียหาย **เหมาะสำหรับเช็คกระแส Load Protection**      ส่วนใหญ่ผู้ใช้มักจะพบเห็นการใช้ Dry Run Protection Relay ในภาคอุตสาหกรรมที่ใช้ป้องกันสำหรับงานอุตสาหกรรมเคมี, งานบ่อน้ำบาดาล, งานบำบัดน้ำเสีย, อาคารคอนโด เป็นต้น โดยผู้บรรยายสามารถยกตัวอย่างรูปวงจรการประยุกต์ใช้งานของ Dry Run Protection Relay สำหรับระบบไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส ดังนี้ ยกตัวอย่างรูปวงจรการประยุกต์ใช้งานของ Dry Run Protection Relay เช็คความผิดปกติของกระแสไฟฟ้า (Amp) สำหรับระบบ 1 เฟส Dry Run Protection Relay เช็คความผิดปกติของกระแสไฟฟ้า (Amp) สำหรับระบบ 1 เฟส เหมาะสำหรับใช้กับ Motor 1 Phase เนื่องจาก 1 Phase ส่วนใหญ่เป็น Capacitor Motor ทำให้การเช็ค PF (Cosθ) อาจจะไม่แน่นอน อันเนื่องมาจาก Capacitor ที่ต่อกับวงจร   ยกตัวอย่างรูปวงจรการประยุกต์ใช้งานของ Dry Run Protection Relay เช็คความผิดปกติของ PF (Power Factor) (Cosθ) สำหรับระบบ 3 เฟส Dry Run Protection Relay เช็คความผิดปกติของค่า PF (Cosθ) ของ Dry Run นั้น มีการเปลี่ยนแปลงตามโหลดมากกว่ากระแส เช่น ปั๊มน้ำที่มีโหลดต่ำกรณีน้ำขาดหรือไม่มีน้ำ ค่า PF จะต่ำ และเปลี่ยนเปลงอย่างเห็นได้ชัด ทำให้ป้องกันปั๊มเสียหายได้ทันเวลา      ดังนั้น จากที่ผู้บรรยายได้กล่าวถึง หลักการทำงานของการใช้งาน Dry Run Protection Relay พร้อมยกตัวอย่างการต่อใช้งานของ Dry Run Protection Relay ข้างต้นนั้น ผู้บรรยายสามารถบอกถึงข้อดีของ Dry Run Protection Relay ในการป้องกันปั๊มน้ำ ปั๊มเคมีไหม้ เนื่องจากน้ำแห้ง น้ำขาด ได้ 6 ข้อดังนี้      6 ข้อดีของ Dry Run Protection Relay ในการป้องกันปั๊มน้ำ ปั๊มเคมีไหม้ เนื่องจากน้ำแห้ง น้ำขาด      1. ลดความเสียหายของปั๊มน้ำ (Water Pump) โดยไม่ต้องยุ่งเกี่ยวกับระบบแมคคานิค เช่น ไม่ต้องตัดท่อเพื่อติดตั้ง (อุปกรณ์ Flow Switch ต้องตัดท่อเพื่อติดตั้ง)      2. สามารถนำอุปกรณ์ Dry Run Protection Relay ไปติดตั้งภายในตู้คอนโทรลได้เลย สะดวกในการติดตั้งใช้งาน      3. สามารถคล้องสายมอเตอร์ผ่านตัว Dry Run Protection Relay เพื่อตรวจเช็คกระแสไฟฟ้า (A) หรือตรวจเช็คค่า PF (Power Factor) ได้โดยตรง สามารถรับกระแสสูงสุดได้ถึง 40A      4. สามารถใช้กับมอเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ได้ถึง 10000A (ต่อแบบ CT (Current Transformer) ภายนอก)      5. ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้ง      6. ราคาประหยัด   ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน การใช้งาน PM-007N ในการป้องกันปั๊มน้ำเดินตัวเปล่าในโรงงานอุตสาหกรรมเคมี Electronics Overload Relay Digital Voltage Protection Relay  Digital Voltage Protection Relay Phase Selector อุปกรณ์ที่จ่ายไฟ 1 Phase  Ground Fault&Phase Protection Relay โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
การใช้ PLC+HMI ในระบบควบคุมการผลิตให้มีประสิทธิภาพ

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK          การใช้ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface)  ในระบบควบคุมการผลิตเป็นการนำเอาเทคโนโลยี PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) มาใช้ในการควบคุมและจัดการระบบการผลิตโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวกลาง โดยมีการนำเข้าข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับการผลิตมาวางแผน, ประมวลผล, และวิเคราะห์ เช่น โครงสร้างหรือรูปแบบการผลิต, สิ่งที่ต้องผลิต, ระยะเวลาการผลิต, และการบริหารจัดการการผลิต เป็นต้น เพื่อใช้ในการกำหนดโครงสร้างและโปรแกรมการควบคุมระบบผลิตของ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface)             การใช้ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface)  ในระบบควบคุมการผลิตมีประโยชน์อย่างมาก เนื่องจากช่วยให้การผลิตมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดความผิดพลาดในการผลิต และช่วยลดต้นทุนการผลิตได้ เช่น การควบคุมเครื่องจักรและระบบสายพานมอเตอร์ (Conveyor Motor), การควบคุมการผลิตโดยใช้หลายหน้าจอแสดงผลและการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินประสิทธิภาพการผลิต เป็นต้น  นอกจากนี้ยังช่วยลดเวลาในการแก้ไขปัญหาของระบบผลิตในกรณีที่เกิดข้อผิดพลาดหรือความไม่เป็นไปตามแผนการผลิตได้อีกด้วย   ตัวอย่างไลน์การผลิตที่ควรมีการควบคุมการผลิตด้วย PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface)          เพื่อให้การใช้งาน PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface)   ในระบบควบคุมการผลิตเป็นไปได้โดยมีประสิทธิภาพและปลอดภัยต่อการใช้งาน จึงจำเป็นต้องมีการออกแบบและปรับปรุงระบบควบคุมอย่างต่อเนื่อง โดยควรทำการตรวจสอบและดูแลรักษาระบบอย่างสม่ำเสมอ และมีการตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในกรณีที่เกิดความผิดพลาด โดยผู้อ่านสามารถพบเห็น PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) บ่อยในงานภาคอุตสาหกรรม โดยในวันนี้ผู้บรรยายขอยกตัวอย่าง PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface)   ยี่ห้อ Unitronics ดังนี้   M91 MICRO-OPLCTH JAZZ MICRO-OPLCTH SAMBA V560 COLOR OPLCTH V570 COLOR OPLCTH V1040 COLOR OPLCTH V1210 COLOR OPLCTH V700 COLOR OPLCTH UNISTREAM COLOR OPLCTH         จากที่ทางผู้บรรยายได้กล่าวถึงประโยชน์ของการนำ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface)   มาใช้ในระบบควบคุมการผลิตงานภาคอุตสาหกรรมเบื้องต้นนั้น ก่อนการวางระบบการควบคุมการผลิตด้วย PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface)  จะต้องมีขั้นตอนอะไรบ้าง สามารถแนะนำและอธิบายได้ตามขั้นตอนดังนี้   การวางแผนขั้นตอนระบบการควบคุมการผลิตด้วย PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface)            ปัจจุบันการพัฒนาและวางแผนระบบกระบวนการผลิตเพื่อให้ตอบโจทย์กับพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปเป็นสิ่งสำคัญ โดยปัจจุบันเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ และหุ่นยนต์อุตสาหกรรมมีความก้าวหน้าอย่างมาก การประยุกต์ใช้นั้นง่ายขึ้น และทำได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้น ลำดับขั้นตอนในการวางแผนการควบคุมกระบวนการผลิตด้วย PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface)  อาจสามารถแบ่งได้ดังนี้            ลำดับขั้นตอนแรก คือ ประเมินและวิเคราะห์จากการทำงานระบบปัจจุบัน ว่าใช้แรงงานหรือกึ่งอัตโนมัติ และนำข้อมูลที่เก็บได้นำมาวิเคราะห์ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลง เรื่องปริมาณ และความเร็วการผลิต โดยต้องคำนึงถึงผลลัพธ์การผลิต และประสิทธิภาพในการทำงานเป็นสำคัญ ทั้งนี้ทีมงานต้องวิเคราะห์ถึงในระบบมีอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบบ้าง อาทิ ด้านภาค Input เช่น Photoelectric Sensor, Proximity Switch, Encoder, Load Cell เป็นต้น ภาค Control เช่น Controller, Counter, Indicator, Timer เป็นต้น ภาค Output เช่น Tower Light เป็นต้น             ขั้นตอนที่สอง คือ การเปลี่ยนวิธีการเก็บข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เพื่อติดตาม และควบคุมกระบวนการผลิตจากเอกสารหรือคน เป็นแบบ Digital และ Real Time เพื่อตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว             ขั้นตอนที่สาม คือ เมื่อทราบข้อมูลจากการเก็บข้อมูล และทำการวิเคราะห์จากขั้นตอนที่สองแล้ว ให้นำข้อมูลดังกล่าวมาจัดการ โดยนำ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) มาประยุกต์ใช้ด้วยการออกแบบโปรแกรมในการควบคุม และเชื่อมโยง Big Data และข้อมูลภายนอกและภายใน ให้เหมาะสม             จากลำดับขั้นตอนในการวางแผนการควบคุมกระบวนการผลิตด้วย PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) ที่ทางผู้บรรยายได้กล่าวมาข้างต้นนั้น สามารถยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) ที่ใช้ในการควบคุมกระบวนการผลิต การผสมเคมีในการทำสารเพิ่มคุณภาพในดิน ดังนี้   ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) ที่ใช้ในการควบคุมกระบวนการผลิต การผสมเคมีในการทำสารเพิ่มคุณภาพในดิน             จากรูป เป็นตัวอย่างการเขียนโปรแกรมควบคุมชุดจ่ายเคมีบนสายพาน โดยสามารถเลือกสูตรการผลิตได้ ถึง100 สูตร รวมถึงมีการใช้ Function สำเร็จรูปในโปรแกรม PLC (Programmable Logic Controller) เพื่อง่ายต่อการเขียนโปแกรม รวมไปถึงยังมีการเก็บข้อมูลด้วย Database และที่สำคัญกว่านั้น สามารถดูผ่านมือถือได้ฟรีจากที่ไหนก็ได้           ดังนั้นจากที่ผู้บรรยายได้ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) ที่ใช้ในการควบคุมกระบวนการผลิต  หากมีการวางแผนระบบอย่างดี ผู้บรรยายมั่นใจได้ว่าการนำ PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) มาใช้งานนั้น จะมีข้อดี และเกิดประโยชน์ กับกระบวนในการผลิตอย่างแน่นอน โดยสามารถบอกถึงข้อดี และประโยชน์ในการใช้งาน PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) ที่ใช้ในการควบคุมกระบวนการผลิต  ดังนี้ ลดความสูญเสียจากการรอคอย             การรอคอยจะเกิดขึ้นเมื่อผู้ปฏิบัติงานกำลังรอวัสดุหรือให้คนอื่นทำงานจนเสร็จ การหยุดทำงานของเครื่องจักร เป็นอีกตัวอย่างของการรอคอย การปรับสมดุลสายการผลิต (Line Balancing) ทำให้มั่นใจได้ว่าผู้ปฏิบัติงานและเครื่องจักรทั้งหมดทำงานร่วมกันอย่างสมดุล ไม่ควรให้ผู้ปฏิบัติงานหรือเครื่องจักรทำงานหนักเกินไปหรือว่างเกินไป ด้วยการลดการหยุดทำงานของเครื่องจักร การปรับสมดุลสายการผลิต (Line Balancing) จะช่วยแก้ปัญหาการรอคอยได้ ลดปัญหาสินค้าคงคลัง            การผลิตที่มากเกินไปส่งผลให้มีสินค้าคงคลังมากเกินความจำเป็น ดการผลิตเป็นมาตรฐานซึ่งหมายความว่า จะช่วยลดการสะสมหรือสินค้าคงคลังส่วนเกิน โดยการลดเวลาความสูญเปล่า การปรับสมดุลสายการผลิต (Line Balancing) ทำให้มั่นใจได้ว่ามีการดำเนินงาน WIP อยู่และด้วยการเพิ่มเวลาในการผลิตให้ใกล้เคียงกับ Takt Time มากขึ้นจึงมั่นใจได้ว่าการส่งมอบของให้ลูกค้าจะตรงเวลาอย่างแน่นอน ลดความแปรปรวนภายในสายการผลิต            การใช้งาน PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) ช่วยลดความแปรปรวนภายในสายการผลิต สายการผลิตที่สมดุลมีความเสถียรและยืดหยุ่นมากพอที่จะปรับให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้ ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงตามความต้องการของลูกค้า หมายถึงการเปลี่ยนแปลงเวลาของ Takt Time การดำเนินการสามารถปรับเปลี่ยนได้อย่างรวดเร็วผ่านการปรับสมดุลสายการผลิต (Line Balancing) ผลของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสายการผลิตที่สมดุลนั้นคือ สามารถคาดการณ์ได้สำหรับการปรับเปลี่ยนเพื่อรองรับในการเพิ่มอัตราการผลิต ลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลกำไร            การใช้งาน PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) ทำให้เกิดการสร้างสมดุลของไลน์ผลิตที่สมบูรณ์แบบ ช่วยให้พนักงานและเครื่องจักรที่ทำงานกันได้อย่างลงตัว เครื่องจักรทั้งหมดใช้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เรียกอีกอย่างนึงว่ากำลังคนและกำลังการผลิตของเครื่องจักรนั้นมีประสิทธิภาพสูงสุดของกระบวนการผลิต ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตน้อยลงและผลกำไรที่มากขึ้น   การประยุกต์ใช้งาน PLC+HMI (Programmable Logic Controller + Human Machine Interface) ที่ใช้ในการควบคุมกระบวนการผลิต อุตสาหกรรมการผลิตอาหาร อุตสาหกรรมพลาสติก เครื่องควบคุมการผลิดสารเพิ่มคุณภาพในดิน เครื่องพ่นสีเฟอร์นิเจอร์ มอนิเตอร์ค่าสัญญาณโรงงานปลาปัตตานี อุตสาหกรรมยาง, โพลิเมอร์, ยางไฟเบอร์ ฯลฯ ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน เครื่องควบคุมการผลิดสาร เพิ่มคุณภาพในดิน เครื่องพ่นสีเฟอร์นิเจอร์ มอนิเตอร์ค่าสัญญาณโรงงานปลาปัตตานี Jazz Micro-OPLC Vision Programmable Logic Control Vision Programmable Logic Control Vision Programmable Logic Control Vision Programmable Logic Control โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK    

Image Alternative text
แนะนำวัสดุของเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temp. Sensor) ที่เหมาะสำหรับงานวัดอุณหภูมิสูง (High Temp.)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK             เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ หรือ Temperature Sensor คือ อุปกรณ์สำหรับเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) ได้ทั้งความร้อน และความเย็น เหมาะสำหรับใช้วัดอุณหภูมิในห้องควบคุมอุณหภูมิ, ห้อง Clean Room, งานภาคอุตสาหกรรม, ห้องอบ, ห้องแล็ป, คลังวัตถุ (Ware House) เป็นต้น ปัจจุบัน เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ หรือ Temperature Sensor สามารถแบ่งออก เป็นประเภทได้ 3 ประเภท ดังนี้           1. เทอร์โมคัปเปิล หรือ Thermocouple เป็นเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) ได้ทั้งความร้อนและความเย็น ทำจากโลหะ 2 ชนิดเชื่อมปลายเข้าด้วยกัน เมื่ออุณหภูมิทั้ง 2 ด้านต่างกัน จะเกิดกระแสไหลในวงจร โดยจะเกิดความต่างศักย์ (Millivolt) เกิดขึ้นระหว่างลวดปลายทั้ง 2 เส้น ซึ่งโลหะต่างชนิดแต่ละคู่จะให้ค่า (Millivolt) เท่าเดิมที่อุณหภูมิเดิม ดังนั้น ถ้าใช้ลวดโลหะต่างชนิดกันมาใช้วัดในช่วงอุณหภูมิต่างๆ กัน จะทำให้แต่ละ Type เหมาะกับการวัดค่าย่านอุณหภูมิที่ต่างกัน จึงจำเป็นต้องแยกชนิดของ เทอร์โมคัปเปิล (Thermocouple) โดยสามารถแบ่งเป็น Type ดังนี้ K, J, R, S, T,ฯลฯ   โครงสร้างของ เทอร์โมคัปเปิล (Thermocouple) ชนิดของเทอร์โมคัปเปิล (Thermocouple)           2. อาร์ทีดี หรือ พีที100 (Resistance Temperature Detector (RTD), PT100) เป็นเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) ได้ทั้งความร้อน และความเย็น ซึ่งให้ค่าการวัดที่ละเอียดและมีความแม่นยำสูงกว่า เทอร์โมคัปเปิล (Thermocouple) หัววัดอุณหภูมิทำมาจาก แพลทินั่ม (Platinum) โดยให้ลวดแพลทินั่มที่อุณหภูมิ 0 °C จะมีค่าความต้านทาน 100 (โอมห์; Ω)   โครงสร้างของ อาร์ทีดี หรือ พีที100 Resistance Temperature Detector (RTD), PT100 กราฟค่าความต้านทานที่อุณหภูมิต่างๆของ อาร์ทีดี หรือ พีที100 Resistance Temperature Detector (RTD), PT100                    3. Thermistor อุปกรณ์วัดอุณหภูมิชนิดความต้านทาน โดยค่าความต้านทานจะเปลี่ยนแปลงเมื่อได้รับความร้อน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด           3.1 PTC (Positive Temperature Coefficient) หรือ พีทีซี เทอร์มิสเตอร์ (PTC Thermistor) คือ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) ประเภทเทอร์มิสเตอร์ (Thermistor) เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ค่าความต้านทาน (Resistance) จะเพิ่มขึ้น (ค่าความต้านทานจะมีค่าเป็น กิโลโอห์ม (KΩ) เช่น 1KΩ, 2KΩ,10KΩ) โดยมีย่านการวัดอุณหภูมิ -30 องศาเซลเซียส ถึง 130 องศาเซลเซียส           3.2 NTC (Negative Temperature Coefficient) หรือ เอ็นทีซี เทอร์มิสเตอร์ (NTC Thermistor) คือ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) ประเภทเทอร์มิสเตอร์ (Thermistor) เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ค่าความต้านทาน (Resistance) จะลดลง (ค่าความต้านทานจะมีค่าเป็น กิโลโอห์ม (KΩ) เช่น 2KΩ, 10KΩ) โดยมีย่านการวัดอุณหภูมิ -30 องศาเซลเซียส ถึง 130 องศาเซลเซียส                       จากข้อมูลที่ผู้บรรยายกล่าวมาข้างต้น เกี่ยวกับโครงสร้างของ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ หรือ Temperature Sensor นั้น ปัจจัยที่สำคัญอีกอย่างนึงในการเลือกพิจารณา คือ วัสดุท่อ (Temperature Probe) ที่ใช้เป็นโครงสร้างในการผลิตของท่อโพรบ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ หรือ Temperature Sensor ประเภทต่างๆ นั้น ก็เป็นสิ่งสำคัญ โดยวันนี้ผู้บรรยายจะกล่าวถึงวัสดุท่อที่เหมาะสำหรับงานอุณหภูมิสูง (High Temp.) ในหัวข้อ “แนะนำวัสดุของเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temp. Sensor) ที่เหมาะสำหรับงานวัดอุณหภูมิสูง (High Temp.)”  โดยงานที่ผู้ใช้สามารถพบเห็นในการวัดอุณหภูมิสูง (High Temp.) จะนิยมให้กับ Temperature Sensor ชนิด Thermocouple เป็นส่วนใหญ่ และจะพบเจอในงาน ยกตัวอย่างเช่น เตาหลอมอลูมิเนียม, เตาเผา, งานขึ้นรูปที่ต้องใช้อุณหภูมิสูง (High Temp.)  หรืองานที่มีสารเคมี กรด ด่าง เป็นต้น โดยมีประเภทวัสดุที่เหมาะกับงานอุณหภูมิสูง (High Temp.) ดังนี้    วัสดุ คุณสมบัติ รูปตัวอย่าง SUS310S เป็นเกรดสแตนเลสที่ออกแบบมาใช้กับงานที่มีอุณหภูมิถึง 950 - 1,100 ºC แบบต่อเนื่อง จึงเหมาะกับงานที่มีอุณหภูมิสูง เช่น งาน Heat treatment ห้องเผาไหม้ในบอยเลอร์ Inconel เป็นโลหะผสมเสริมความแข็งแรงด้วยสารละลายแข็งที่มีนิกเกิล-โครเมียม-เหล็กทนอุณหภูมิสูงและทนต่อการเกิดออกซิเดชันได้ดีสูงสุด 1,200 ºC จึงเหมาะกับงานที่มีอุณหภูมิสูง เช่น งาน Heat treatment ห้องเผาไหม้ในบอยเลอร์ Ceramic Alumina แกนทำจากเซรามิค ที่เป็นวัสดุผสมทำมาจากดินอะลูมิน่าอย่างดี ทนความร้อนได้สูงกว่า 1600 ºC นิยมใช้ในงาน เตาเผา , งานขึ้นรูปที่ต้องใช้อุณหภูมิสูงๆ (สำหรับ Type R, S) Silicon Carbide มีคุณสมบัติ  มีความแข็งสูง  ทนอณหภูมิได้สูงได้ดี  สามารถระบายความร้อนได้ดี และทนทานต่อการกัดกร่อนของสารเคมีได้มาก  นิยม นำไปใช้ในงานหลอมอลูมิเนียม ทนอุณหภูได้สูงมาก 1500 ºC (สำหรับ Type R, S)           ยกตัวอย่างการใช้งานของ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ หรือ Temperature Sensor ประเภท Thermocouple Type K โดยวัสดุท่อทำจาก Ceramic   ยกตัวอย่างการใช้งานของ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ หรือ Temperature Sensor ประเภท Thermocouple Type K โดยวัสดุท่อทำจาก Ceramic  ในอุตสาหกรรม เตาเผาเซรามิค อบโมลด์โลหะ           ยกตัวอย่างการใช้งานของ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ หรือ Temperature Sensor ประเภท Thermocouple Type R โดยวัสดุท่อทำจาก Inconel   ยกตัวอย่างการใช้งานของ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ หรือ Temperature Sensor ประเภท Thermocouple Type R  โดยวัสดุท่อทำจาก Silicon Carbide  ในอุตสาหกรรม เตาหลอมโลหะ เช่น เหล็ก                 ดังนั้น จากตารางชนิดของวัสดุที่มาผลิตท่อโพรบ และตัวอย่างการใช้งาน สามารถบอกถึงข้อดีของเลือกใช้ วัสดุของเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temp. Sensor) ที่เหมาะสำหรับงานวัดอุณหภูมิสูง (High Temp.) เพิ่มอายุการใช้งานของ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ หรือ Temperature Sensor ให้ยาวนานขึ้น ลดความสูญเสียของชิ้นงานที่จะเกิดขึ้นหาก เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ หรือ Temperature Sensor ชำรุด เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ หรือ Temperature Sensor ทำให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพตามไปด้วย ลดการ Maintenance ของผู้ใช้งานเนื่องจาก เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ หรือ Temperature Sensor  มีการใช้งานยาวนานขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในการ ซ่อมบำรุง เนื่องจาก เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ หรือ Temperature Sensor มีราคาค่อนข้างสูงกว่า ชนิดอื่นๆ ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน อุตสาหกรรมผลิตขวดแก้ว เตาเผาเซรามิค เตาหลอมเหล็ก Digital Temperature Controller PID Control Function Single Phase Solid State Relay Heater Digital Temperature Indicator Universal Input Digital Indicator With Alarm Unit โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
การใช้ Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter เพื่อเก็บบันทึกข้อมูล และ Report อุปกรณ์ต่างๆ ในระบบ IoT

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK           RS-485 Communication เป็นมาตรฐานการสื่อสารข้อมูลที่ใช้สำหรับการเชื่อมต่อสื่อสารกันระหว่างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีข้อดีคือสามารถรับส่งข้อมูลได้ไกลถึง 1.2 กิโลเมตร และสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้หลายอุปกรณ์ได้ในระบบเดียวกัน โดยสามารถยกตัวอย่างการใช้งานได้ดังนี้ ระบบควบคุมอุตสาหกรรม (Industrial Control Systems) เช่น ระบบควบคุมโรงงาน, ระบบอัตโนมัติ ฯลฯ , ระบบกล้องวงจรปิด (CCTV), ระบบสัญญาณแสดงผล (Display) เช่น Target Counter, ระบบ OEE ฯลฯ, ระบบอุปกรณ์เครือข่าย (Networking devices) เช่น Router เป็นต้น           LoRaWAN หรือ Long Range Wide Area Network เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย (Wireless) ที่ใช้เสาอากาศในการส่งข้อมูล โดยสามารถส่งได้ในระยะไกลๆ โดยใช้คลื่นความถี่ต่ำ (Sub-GHz) เมื่อเทียบกับ WiFi และ Bluetooth ปัจจุบันเป็นที่นิยมมากในกลุ่มงานด้าน IoT (Internet of Thing) ในงานภาคอุตสาหกรรม เช่น การเชื่อมต่อ Power Meter System เพื่อ Monitor & Analysis และ Record บันทึกข้อมูลในงานอุตสาหกรรม, การเชื่อมต่อเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้นเพื่อ Monitor และบันทึกค่า เป็นต้น    ตัวอย่างการต่อใช้งานมิเตอร์วัดค่าพลังงานไฟฟ้าแบบไร้สาย LoRaWAN รุ่น KM-24-L และดึงค่าอุณหภูมิจาก Digital Indicator ผ่านอุปกรณ์แปลงสัญญาณ RS-485 เป็น LoRa (Converter) รุ่น RM-012-L เพื่อ Monitor, Analysis, Record ผ่าน Prisoft Software                    สำหรับโครงสร้างของ LoRaWAN ตามภาพจะประกอบด้วยหลายอุปกรณ์ เช่น อุปกรณ์ปลายทางจะส่งสัญญาณไปยัง Gateway หลังจากนั้น Gateway จะสื่อสารกับ Server ด้วย TCP และ UDP โดยสามารถนำเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย (Wireless) LoRaWAN มาใช้งานร่วมกับอุปกรณ์เครื่องมือวัดไฟฟ้าอุตสาหกรรมต่างๆ ได้          ในวันนี้ผู้บรรยายขอกล่าวถึงอุปกรณ์ Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter ว่าปัจจุบันนำไปใช้ในงานอุตสาหกรรมประเภทใด และมีหลักการทำงานอย่างไร รวมถึงข้อดีของ Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter          โดย Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณจาก RS-485 เป็น LoRaWAN แล้วทำการส่งข้อมูลแบบไร้สาย ไปยัง LoRaWAN Gateway ที่ต่อกับ Computer เพื่อเก็บข้อมูลเข้า Computer และสามารถแสดงผลผ่าน Dashboard หรือส่งข้อมูลแบบไร้สายไปยัง Node Devices หรือ Slave Devices อื่นๆ ในระบบ   ยกตัวอย่าง Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter (อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณจาก RS-485 เป็น LoRaWAN) ยี่ห้อ Primus รุ่น RM-012-L            จากตัวอย่าง Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter (อุปกรณ์แปลงสัญญาณจาก RS-485 เป็น LoRaWAN) ยี่ห้อ Primus รุ่น RM-012-L สิ่งที่ผู้ใช้ต้องพิจารณาเพื่อให้สามารถใช้งานร่วมกับ Node Devices หรือ Slave Devices อื่นๆ ในระบบนั้น ควรพิจารณาอะไรบ้าง   Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter (อุปกรณ์แปลงสัญญาณจาก RS-485 เป็น LoRaWAN) ควรพิจารณาอะไรบ้าง ระยะทางในการส่งข้อมูล โดย Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter (อุปกรณ์แปลงสัญญาณจาก RS-485 เป็น LoRaWAN) ยี่ห้อ Primus รุ่น RM-012-Lจะสามารถส่งข้อมูลได้ในระยะ 1,000 เมตร (ในพื้นที่โล่ง) ตรวจสอบว่า Node Devices หรือ Slave Devices รองรับการสื่อสารได้สูงสุด 10 Device ต่อ 1 Converter ความไวในการส่งข้อมูล(1นาทีโดยประมาณ)                   โดยผู้ใช้งานสามารถพิจารณาได้จากข้อมูลทางเทคนิคของ Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter (อุปกรณ์แปลงสัญญาณจาก RS-485 เป็น LoRaWAN) ยกตัวอย่างได้ดังนี้   ยกตัวอย่าง ข้อมูลทางเทคนิคของ Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter (อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณจาก RS-485 เป็น LoRaWAN) ยี่ห้อ Primus รุ่น RM-012-L                     Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter หรือ อุปกรณ์แปลงสัญญาณจาก RS-485 เป็น LoRaWAN สามารถต่อเข้ากับพอร์ทสื่อสาร RS-485 ของอุปกรณ์ Energy Meter หรือ Power Meter แล้วส่งข้อมูลแบบไร้สายไปยัง Computer เพื่อเก็บข้อมูลพลังงาน หรือค่าพารามิเตอร์ทางไฟฟ้าต่างๆ โดยสามารถยกตัวอย่างการต่อใช้งานดังนี้   ตัวอย่างการต่อใช้งานมิเตอร์วัดค่าพลังงานไฟฟ้าโดยมี Option RS-485 รุ่น KM-07-A-M ผ่านอุปกรณ์แปลงสัญญาณ RS-485 เป็น LoRa (Converter) รุ่น RM-012-L Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter เพื่อ Monitor, Analysis, Record ผ่าน Prisoft Software                    Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter หรือ อุปกรณ์แปลงสัญญาณจาก RS-485 เป็น LoRaWAN สามารถต่อเข้ากับพอร์ทสื่อสาร RS-485 ของอุปกรณ์ I/O Module เพื่อรับคำสั่งจาก Computer ในการตัดต่อ Load เหมาะกับงานที่ต้องการเก็บข้อมูลทุก ๆ ช่วงเวลา เป็น Smart Industries และ Smart Building สะดวกต่อการใช้งาน Online ระบบตลอดเวลา ลดแรงงานและให้ความถูกต้องในการจดบันทึก ประหยัดค่าใช้จ่าย โดยสามารถยกตัวอย่างการต่อใช้งานดังนี้   ตัวอย่างการต่อใช้งาน I/O Module ผ่านอุปกรณ์แปลงสัญญาณ RS-485 เป็น LoRa (Converter) รุ่น RM-012-L Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter เพื่อ Monitor, Analysis, Record                      โดย Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter หรือ อุปกรณ์แปลงสัญญาณจาก RS-485 เป็น LoRaWAN ที่ทางผู้บรรยายได้กล่าวเกี่ยวกับคุณสมบัติเบื้องต้น สามารถบอกถึงข้อดีได้ดังนี้   ข้อดีของ Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter (อุปกรณ์แปลงสัญญาณจาก RS-485 เป็น LoRaWAN) ​สามารถส่งข้อมูลได้ในระยะไกลถึง 1,000 เมตร (ในพื้นที่โล่ง) เพิ่มความถูกต้องแม่นยำในการเก็บบันทึกข้อมูล (ไม่เกิด Human Eror) ลดการ Wiring สาย เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย ลดแรงงานคนในการจดบันทึก และตรวจสอบ สามารถดูผ่าน Web Browser และ ผ่าน Smart Phone ได้ ประหยัดงบประมาณในการติดตั้งและ Mainternance ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน งาน Smart Building ​งาน Smart Industries ​วัดพลังงานแบบไร้สาย ​Energy Management วัดพลังงานแบบไร้สายโรงงานกระดาษ วัดพลังงานแบบไร้สายโรงงานอุตสาหกรรมกระเบื้องหลังคา วัดพลังงานแบบไร้สายโรงงานอุตสาหกรรมกระเบื้องเซรามิค Single Phase  kWh-Meter With LoRa Multifunction Meter 3 Phase  Power And Enegry Meter With RS-485 WIFI TO RS-485/RS-232 Converter USB to RS-422/RS-485 Converter โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
เซ็นเซอร์แบบม่านลำแสงประเภท Area Sensor ต่างกับ Safety Light Curtain อย่างไร?

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      เซ็นเซอร์แบบม่านลำแสงประเภท Area Sensor และ Safety Light Curtain คือ เซ็นเซอร์ที่ใช้สำหรับป้องกันอันตรายจากการทำงานของเครื่องจักร เป็นเซ็นเซอร์กลุ่มม่านแสงนิรภัยหรือม่านแสงเซฟตี้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานหรือผู้ที่ดูแลเครื่องจักรในขณะปฏิบัติงาน        โดยเซ็นเซอร์แบบม่านลำแสงประเภท Area Sensor และ Safety Light Curtain จะประกอบด้วยตัวส่งและตัวรับ ลักษณะเป็นแท่งยาว ติดตั้งเข้าหากัน โดยหลักการทำงานจะเช่นเดียวกับโฟโต้อิเล็กทริกเซ็นเซอร์ (Photoelectric Sensor) แต่เซ็นเซอร์แบบม่านลำแสงประเภท Area Sensor และ Safety Light Curtain จะยิงแสงออกมาหลายจุดกำเนิดลำแสงลักษณะเหมือนม่าน ระยะห่างระหว่างแกนลำแสงและความถี่ขึ้นอยู่กับรุ่นและความยาว        โดยปัจจัยที่มีความแตกต่าง      Area Sensor จัดอยู่ในกลุ่มเครื่องจักรที่มีความอันตรายต่ำ ทำให้ได้รับบาดเจ็บ      Safety Light Curtain จัดอยู่ในกลุ่มเครื่องจักรที่มีความอันตรายสูง โดยแยกออกเป็น 2 Type           - Type 2 : เครื่องจักรที่มีความอันตราย ทำให้ผู้ปฏิบัติงานร่วมกับเครื่องจักรมีโอกาสได้รับบาดเจ็บขณะปฏิบัติงาน แต่ไม่ถึงขั้นพิการ (ISO 13849-1/EN 954-1)           - Type 4 : เครื่องจักรที่มีความอันตรายสูง ทำให้ผู้ปฏิบัติงานร่วมกับเครื่องจักรมีโอกาสได้รับบาดเจ็บขณะปฏิบัติงาน อาจจะทำให้พิการหรือเสียชีวิตได้ (ISO 13849-1/EN 954-1)   ตัวอย่างลักษณะของเซ็นเซอร์แบบม่านลำแสงประเภท Area Sensor และ Safety Light Curtain Area Sensor Safety Light Curtain        ซึ่งเซ็นเซอร์แบบม่านลำแสงประเภท Area Sensor และ Safety Light Curtain มีหลักการและการใช้งานต่างกันดังนี้      Area Sensor ถูกออกแบบให้มีหลักการทำงานการกำเนิดแสงแบบลักษณะม่านลำแสง ซึ่งจัดอยู่ในประเภทของโฟโต้เซ็นเซอร์แบบธรรมดา (Photoelectric Sensor) ดังนั้น Area Sensor นี้จึงไม่ได้ถูกการรองรับด้วยมาตรฐานความปลอดภัยประเภทงานอุตสาหกรรม ส่งผลให้ในงานภาคอุตสาหกรรมที่ต้องมีระบบในการรักษาความปลอดภัย Area Sensor จึงไม่นิยมนำไปใช้งาน และ Area Sensor จะไม่มีสถานะการทำงานแสดงว่าทำงานปกติหรือเครื่องมีปัญหา หรือเกิดปัญหาบริเวณตำแหน่งใดของตัว Area Sensor จึงส่งผลให้ไม่สามารถระบุได้ว่า Area Sensor ยังทำงานได้อย่างปกติหรือไม่ได้ทำงานแล้ว ซึ่งทำให้สามารถเกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานได้ นอกจากนี้ Area Sensor มีลักษณะการยิงลำแสงแบบกระจาย การตรวจจับจึงไม่ค่อยแม่นยำ เมื่อนำ Area Sensor หลาย ๆ ตัวมาวางใกล้ ๆ กัน จะทำให้สัญญาณรบกวนกันและเซ็นเซอร์ตรวจจับมีความผิดเพี้ยน ส่งผลให้ไม่สามารถตรวจจับวัตถุ, มือ, นิ้ว และแขนของมนุษย์ได้        Safety Light Curtain ถูกออกแบบมาเป็นม่านลำแสงแบบเซฟตี้ (Safety) สามารถใช้งานคู่กับเซฟตี้รีเลย์ (Safety  Relay) ซึ่งจะทำให้อายุการทำงานได้นานขึ้นและมีความแม่นยำในการตรวจจับสูง โดยมีมาตรฐานรองรับความปลอดภัยจากองค์กรระดับนานาชาติ อาทิ ISO, CE เป็นต้น ทำให้นิยมนำไปใช้ในงานป้องกันอันตรายจากการทำงานของเครื่องจักร เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานหรือผู้ที่ดูแลเครื่องจักรในขณะปฏิบัติงานในงานภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังสามารถแสดงสถานะการทำงานว่าทำงานปกติหรือไม่ปกติได้อีกด้วย และ Safety Light Curtain จะไม่ยิงลำแสงออกมาพร้อมกัน แต่จะยิงลำแสงออกมาทีละคู่ รับ-ส่ง เป็นชุดเรียงจากบนลงล่างอย่างรวดเร็ว เป็น Microsecond เพื่อให้แต่ละ Beam ไม่รบกวนกัน ส่งผลให้มีการตรวจจับที่แม่นยำและไม่เกิดความผิดพลาดในการตรวจจับ        ดังนั้น จากข้อมูลของเซ็นเซอร์แบบม่านลำแสงประเภท Area Sensor และ Safety Light Curtain สามารถสรุปความแตกต่างจากตารางได้ดังนี้   Area Sensor Safety Light Curtain เหมาะสำหรับพื้นที่การใช้งานที่เครื่องจักรมีความอันตรายต่ำแก่ผู้ปฏิบัติงาน เหมาะสำหรับพื้นที่การใช้งานที่เครื่องจักรที่มีความอันตรายสูงแก่ผู้ปฏิบัติงาน (ตามมาตรฐานการป้องกันของเครื่องจักร) ลักษณะม่านลำแสงซึ่งจัดอยู่ในประเภทของโฟโต้เซ็นเซอร์แบบธรรมดา (Photoelectric Sensor) การตรวจจับจึงไม่ค่อยแม่นยำ ลักษณะม่านลำแสงแบบ Safety สามารถใช้งานคู่กับ Safety  Relay ซึ่งจะทำให้อายุการทำงานได้นานขึ้นและมีความแม่นยำในการตรวจจับสูง ไม่ได้ถูกรองรับด้วยมาตรฐานความปลอดภัยประเภทงานอุตสาหกรรม มีมาตรฐานรองรับความปลอดภัยจากองค์กรระดับนานาชาติ อาทิ ISO, CE เป็นต้น ไม่มีการแสดงสถานะการทำงาน ว่าทำงานปกติหรือเครื่องมีปัญหา หรือเกิดปัญหาบริเวณตำแหน่งใดของตัว Area Sensor สามารถแสดงสถานะการทำงาน ว่าทำงานปกติหรือไม่ปกติ ส่งผลให้สะดวกต่อการตรวจสอบและ Maintenance การยิงลำแสงแบบกระจาย การตรวจจับจึงไม่ค่อยแม่นยำเมื่อนำ Area Sensor หลาย ๆ ตัวมาวางใกล้ ๆ กัน จะทำให้สัญญาณรบกวนกันและเซ็นเซอร์ตรวจจับมีความผิดเพี้ยน ไม่ยิงลำแสงออกมาพร้อมกัน แต่จะยิงลำแสงออกมาทีละคู่ รับ-ส่ง เป็นชุดเรียงจากบนลงล่างอย่างรวดเร็ว เพื่อให้แต่ละ Beam ไม่รบกวนกัน ส่งผลให้มีการตรวจจับที่แม่นยำ และไม่เกิดความผิดพลาดในการตรวจจับ      ดังนั้นความแตกต่างระหว่างเซ็นเซอร์แบบม่านลำแสงประเภท Area Sensor และ Safety Light Curtains ทำให้มีการทำงานที่แตกต่างกัน จึงเหมาะสมกับงานคนละแบบ ถ้าคำนึงถึงความปลอดภัยเราควรเลือกใช้เป็น Safety Light Curtains มากกว่าที่จะใช้ Area Sensor        ตัวอย่างวงจรการต่อใช้งานของ Safety Light Curtains ยี่ห้อ Smart Scan   ตัวอย่างการต่อใช้งานของ Safety Light Curtains ร่วมกับ Multi-Module ยี่ห้อ Smart Scan        สิ่งที่ต้องพิจารณาในการเลือกซื้อเซ็นเซอร์แบบม่านลำแสงประเภท Area Sensor และ Safety Light Curtains        • ระยะห่างแกนลำแสงที่ใช้ในการตรวจจับโดยทั่วไปแล้วจะมีระยะห่าง 25, 40 มม. ให้เลือก ขึ้นอยู่กับขนาดของสิ่งที่เคลื่อนผ่านม่านแสง โดยที่ระยะห่างแกนลำแสงต้องน้อยกว่าขนาดของวัตถุ   ตัวอย่างการเลือกระยะห่างแกนลำแสงที่ใช้ในการตรวจจับของเซ็นเซอร์แบบม่านลำแสง ประเภท Area Sensor ยี่ห้อ Smart Scan รุ่น SMNA-Series        • การเลือกความสูงของม่านแสงเพื่อให้ครอบคลุมกับพื้นที่ทั้งหมดที่ต้องการตรวจจับ   ตัวอย่างการเลือกความสูงของม่านแสงเพื่อให้ครอบคลุมกับพื้นที่ทั้งหมดที่ต้องการตรวจจับของเซ็นเซอร์แบบม่านลำแสง ประเภท Safety Light Curtains ยี่ห้อ Smart Scan รุ่น 1000-Series        • การเลือกระยะห่างระหว่างตัวส่งและตัวรับ สามารถติดตั้งได้ไกลพอที่จะครอบคลุมพื้นที่ด้านกว้างได้พอ   ตัวอย่างการเลือกระยะห่างระหว่างตัวส่งและตัวรับของเซ็นเซอร์แบบม่านลำแสง ประเภท Safety Light Curtains ยี่ห้อ Smart Scan รุ่น 1000-Series        ข้อดีของการใช้เซ็นเซอร์แบบม่านลำแสงประเภท Area Sensor และ Safety Light Curtains ติดตั้งกับเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม      • ป้องกันอันตรายจากการทำงานร่วมกับเครื่องจักร      • หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุที่มีต่อเครื่องจักรได้      • ทำให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน Area Sensor   ป้องกันสินค้าในสต็อกหาย นับจำนวนสินค้า ป้องกันไม่ให้ความสูงเกินกำหนด      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน Safety Light Curtains ป้องกันผู้ปฏิบัติงานเข้าพื้นที่อันตราย Target Counter Digital Counter Digital Preset Counter Photoelectric Sensor Proximity Switch โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
เลือกซื้อพาวเวอร์มิเตอร์ (Power Meter) หรือ มัลติมิเตอร์ (Multifunction Power Meter) ควรพิจารณาอะไรบ้าง?

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      พาวเวอร์มิเตอร์ (Power Meter) หรือมัลติมิเตอร์ (Multifunction Power Meter) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดและตรวจสอบค่าพลังงานไฟฟ้าของระบบไฟฟ้า ซึ่งสามารถวัดและบันทึกค่าไฟฟ้าต่าง ๆ ได้ เช่น แรงดันไฟฟ้า (Voltage), กระแสไฟฟ้า (Current), พาวเวอร์แฟคเตอร์ (Power Factor) และพลังงาน (Energy) และค่าอื่น ๆ V (Line), V (Phase), A (Phase), kW, kvar, kVA, kWh, kvarh, kVAh, PF, Hz, kW Demand, Peak Demand, THD (Harmonic) เป็นต้น        โดยพาวเวอร์มิเตอร์ (Power Meter) หรือมัลติมิเตอร์ (Multifunction Power Meter) แบ่งออกเป็นหลายประเภทตามความสามารถของเครื่องวัด อาทิ มิเตอร์แบบเข็ม (Analog Meter), มิเตอร์แบบดิจิตอล (Digital Meter) เป็นต้น โดยผู้อ่านสามารถพบเห็นพาวเวอร์มิเตอร์ (Power Meter) หรือมัลติมิเตอร์ (Multifunction Power Meter) ได้ในงานภาคอุตสาหกรรม เช่น โรงงานอุตสาหกรรม, หอพัก, อาคารสำนักงาน และอื่น ๆ ที่ต้องการความแม่นยำในการวัดและบันทึกข้อมูลไฟฟ้าเพื่อจะนำมาวิเคราะห์หรือจัดการพลังงานไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด        ตัวอย่างพาวเวอร์มิเตอร์ (Power Meter) หรือมัลติมิเตอร์ (Multifunction Power Meter) ยี่ห้อ PRIMUS   KM-06N : 3 Phase Power and Energy Meter with RS-485 KM-07 : Multifunction Meter KM-09 : 1 Phase Power Meter   KM-20 : 1 Phase Power Meter with Protection Relay KM-23 : 3 Phase Power Meter with Protection Relay KM-24-L : 1 Phase Power Meter with LoRaWAN      จากตัวอย่างพาวเวอร์มิเตอร์ (Power Meter) หรือมัลติมิเตอร์ (Multifunction Power Meter) ยี่ห้อ PRIMUS ควรมี Function ต่าง ๆ ที่สามารถวัดและวิเคราะห์พลังงานได้อย่างแม่นยำและมีประสิทธิภาพ เช่น      • การวัดและแสดงค่าไฟฟ้า : สามารถวัดและแสดงค่าไฟฟ้าทั้งแรงดันไฟฟ้า (Voltage), กระแสไฟฟ้า (Current) แบบไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) เพื่อตรวจสอบว่าแรงดันและกระแสไฟฟ้าอยู่ในเกณฑ์ที่ถูกต้องหรือไม่      • การวัดและแสดงค่าพลังงาน : สามารถวัดและแสดงค่าพลังงานได้แบบ Real-time โดยใช้หน่วยวัด kWh หรือ MWh เพื่อช่วยในการประหยัดพลังงานและลดค่าใช้จ่ายในการใช้ไฟฟ้า      • การวัดและแสดงค่า Power Factor (PF) : สามารถวัดและแสดงค่า Power Factor ซึ่งเป็นอัตราส่วนระหว่างพลังงานที่ใช้งานจริงกับพลังงานที่จ่ายเข้าระบบได้ ทำให้สามารถปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานได้      • การวัดและแสดงค่าความถี่ (Hz) : สามารถวัดและแสดงค่าความถี่ของไฟฟ้าได้ เช่น 50Hz หรือ 60Hz เพื่อตรวจสอบว่าไฟฟ้าทำงานได้อย่างถูกต้อง      • การวัดและแสดงค่าอื่น ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้งาน อาทิ V (Line), V (Phase),  A (Phase), kW, kvar, kVA, kWh, kvarh, kVAh, PF, Hz, kW Demand, Peak Demand, THD (Harmonic) เป็นต้น      จากบทความที่ผ่านมาในหัวข้อ “5 ข้อดี ของพาวเวอร์มิเตอร์ขนาดเล็ก พร้อมโวลท์เตจโปรเทคชั่นภายในตัว (Power Meter with Voltage Protection Relay)” และ “ข้อดีของ Power Meter พร้อม Phase Protection ภายในตัว” ผู้อ่านน่าจะพอเข้าใจความหมายของ พาวเวอร์มิเตอร์ (Power Meter) หรือ มัลติมิเตอร์ (Multifunction Power Meter) ได้พอสังเขป         ดังนั้นในวันนี้ผู้บรรยายจะขอแนะนำเทคนิคในการเลือกซื้อ พาวเวอร์มิเตอร์ (Power Meter) หรือ มัลติมิเตอร์ (Multifunction Power Meter) ว่ามีหลักการในการพิจารณาอะไรบ้างดังนี้        เลือกซื้อพาวเวอร์มิเตอร์ (Power Meter) หรือมัลติมิเตอร์ (Multifunction Power Meter) ควรพิจารณาอะไรบ้าง โดยมีหลักในการเลือกดังนี้      • ตรวจสอบว่า Multifunction Power Meter มีความแม่นยำและเป็นไปตามมาตรฐานไหม : ควรเลือกซื้อ Multifunction Power Meter ที่มีความแม่นยำและเป็นไปตามมาตรฐาน เช่น IEC 61036      • ตรวจสอบว่า Multifunction Power Meter มีฟังก์ชันที่ตรงตามความต้องการ : ควรเลือกซื้อ Multifunction Power Meter ที่มีฟังก์ชันที่ตรงตามความต้องการ เช่น การวัดและแสดงค่าไฟฟ้า การวัดและแสดงค่าพลังงาน การวัดและแสดงค่า Power Factor การวัดและแสดงค่าความถี่ และอื่น ๆ      • ตรวจสอบว่า Multifunction Power Meter มีความสามารถในการติดต่อกับระบบต่าง ๆ : ควรเลือกซื้อ Multifunction Power Meter ที่มีความสามารถในการติดต่อกับระบบต่าง ๆ เช่น RS485, Modbus, Ethernet หรือ Wi-Fi สามารถไปเชื่อมต่อกับระบบคอมพิวเตอร์และนำไปเก็บข้อมูลเพื่อวิเคราะห์พลังงานการใช้ไฟฟ้าต่อไปได้      • ตรวจสอบว่า Multifunction Power Meter มีความปลอดภัยและมีการรับรองมาตรฐาน : ควรเลือกซื้อ Multifunction Power Meter ที่มีความปลอดภัยและมีการรับรองมาตรฐาน เช่น มีการตรวจสอบความปลอดภัยอย่างสม่ำเสมอ มีการรับรองมาตรฐานการทดสอบทางไฟฟ้า และมีมาตรฐานอุตสาหกรรม เช่น CE Mark เป็นต้น        โดยวันนี้ผู้บรรยายขอแนะนำ KM-07 : Multifunction Meter ยี่ห้อ Primus เป็นมิเตอร์วัดค่าพลังงานไฟฟ้า สามารถวัดค่า V(Line), V(Phase), A(Phase), kW, kVA, kVar, kWh, kVarh, PF, Hz, kW Demand Peak Demand, THD (Harmonic) 11 ลำดับ สำหรับ 1 Phase / 3 Phase (ในกรณีเชื่อมต่อกับ Software) โดยมีหน้าจอแสดงผลแบบ LCD สามารถตั้งค่า (PT) Ratio และ (CT) Ratio ได้เอาต์พุตแบบ Pulse, Analog 4-20 mA และสามารถสื่อสารผ่านพอร์ท RS-485, MODBUS RTU Protocol        ตัวอย่าง KM-07 : Multifunction Meter ยี่ห้อ Primus   คุณสมบัติ Multifunction Meter รุ่น KM-07 ยี่ห้อ PM • KM-07 เป็นมิเตอร์วัดค่าพลังงานไฟฟ้า สามารถวัดค่า V(Line), V(Phase), A(Phase), kW, kVA, kVar, kWh, kVarh, PF, Hz, kW Demand Peak Demand, THD (Harmonic) 11 ลำดับ สำหรับ 1 Phase / 3 Phase (ในกรณีเชื่อมต่อกับ Software) • หน้าจอแสดงผลแบบ LCD • สามารถตั้งค่า (PT) Ratio และ (CT) Ratio ได้ • เอาต์พุตแบบ Pulse, Analog 4-20 mA • สามารถวัดค่ามุม Phase ระหว่างกระแสกับแรงดันไฟฟ้าได้ และค่า % THD ของ Volt และ Amp ได้ อีกทั้งยังสามารถสื่อสารผ่านระบบ RS-485 ด้วย MODBUS RTU Protocol ได้ การวัดค่า kWh kvarh 13 หลัก (9,999,999,999,999)   การต่อใช้งาน      ตัวอย่าง Current Transformer (CT) ที่ใช้ต่อร่วมกับพาวเวอร์มิเตอร์ (Power Meter) หรือมัลติมิเตอร์ (Multifunction Power Meter) ยี่ห้อ PRIMUS CT แบบร้อยสาย MSQ-Series, Brand ANA CT แบบ Split Core (แกนแยก) DP-58-Series, Brand ANA CT แบบ Split Core (แกนแยก) DP-23-Series, Brand ANA CT แบบ Split Core (แกนแยก) DP-88-Series, Brand ANA CT แบบ Split Core (แกนแยก) DP-812-Series, Brand ANA Class 0.5 Class 0.5 Class 1.0 Class 0.5 Class 0.5      ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน พาวเวอร์มิเตอร์ (Power Meter) หรือมัลติมิเตอร์ (Multifunction Power Meter) รุ่น KM-07 ยี่ห้อ Primus        นอกจากนี้เรายังมี Software ที่เรียกว่า “Prisoft” เป็น Software Web Server Monitoring System สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์บน TCP/IP, RS485, RS232 และ LoRaWAN โดย “Prisoft” จะทำหน้าที่อ่านค่าตัวแปรที่ผู้ใช้ต้องการผ่านระบบสื่อสารและนำมาเก็บข้อมูลใน Database บนเครื่อง PC และนำข้อมูลไปแสดงผลยังหน้า Webpage ทำให้ผู้ใช้งานไม่ต้องจดบันทึกและสามารถดูผ่าน Mobile หรือ PC ได้        ตัวอย่าง “Prisoft” เป็น Software Web Server Monitoring System        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   ใช้วัดค่าพลังงานอาคารหอพัก ใช้วัดค่าพลังงานของเครื่องจักร ใช้วัดค่าพลังงานของตู้ MDB 3 PHASE POWER AND ENERGY METER WITH RS-485 THREE PHASE VOLT-AMP kWh-METER WITH PROTECTION RELAY THREE PHASE VOLT-AMP kWh-METER WITH PROTECTION RELAY SINGLE PHASE kWh-METER WITH LORA USB to RS-422/RS-485 CONVERTER โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
แนะนำ HMI Cloud Free by Haiwell มีข้อดีอย่างไร

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK         PLC (Programmable Logic Controller) พีแอลซี  อุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่องจักรแบบอัตโนมัติในโรงงานหรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยมีส่วนของ Input/Output และตัวประมวลผล  สามารถโปรแกรมเพื่อปรับปรุงหรือเพิ่มความสามารถให้กับระบบได้ง่าย ๆ โดยใช้ภาษาโปรแกรมที่เรียกว่า Ladder Diagram เพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงานของระบบต่าง ๆ และทำการต่อเซ็นเซอร์หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อรับสัญญาณและส่งสัญญาณ อีกทั้งยังสามารถตรวจสอบสถานะและควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้องตามความต้องการของผู้ใช้งาน  ดังรูปตัวอย่าง PLC ยี่ห้อ Unitronics  PLC+HMI Touch Screen ยี่ห้อ Unitronics SAMBA Vision Color Touch Screen OPLC Vision Color Touch Screen OPLC Vision Color Touch Screen OPLC Vision Graphic / Touch Screen OPLC Unistream Color Touch Screen OPLC SM-Series V570-Series 1040-Series V280-Series V530-Series USP-Series Samba PLC (PLC+HMI) สามารถเก็บข้อมูล (Data Logger) ได้ภายในตัวของ PLC หน้าจอรูปแบบ Touch Screen Vision PLC (PLC+HMI) สามารถเก็บข้อมูล (Data Logger) ได้ภายในตัวของ PLC หน้าจอรูปแบบ Touch Screen Unistream PLC (PLC+HMI) เน้นกับลักษณะงานที่ใช้กราฟิก (Graphic) หน้าจอรูปแบบ Touch Screen         ปัจจุบันการเขียน PLC สามารถเขียน Ladder Diagram ใน Computer PC รวมทั้งการใช้งาน PLC ร่วมกับ HMI (Human Machine Interface) ในการควบคุมเครื่องจักรผ่านหน้าจอแบบต่าง ๆ และพีแอลซี (PLC) สามารถเขียนโปรแกรมสร้างฟังก์ชั่นและเงื่อนไขต่าง ๆ เพื่อควบคุมการทำงานได้ตามความต้องการ ถ้าต้องการจะเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการทำงานใหม่ก็สามารถทำได้โดยการเปลี่ยนแปลงโปรแกรมเพียงเท่านั้น        จากบทความที่ผ่านมาในหัวข้อ “PLC ON CLOUD ได้อย่างไร?” และ “วิธีการเขียน Vision130 PLC + HMI Monitor On Cloud” ผู้อ่านน่าจะพอเข้าใจ PLC On Cloud และ ความหมายของ Could ได้พอสังเขป ดังนั้นในวันนี้ผู้บรรยายจะขอแนะนำข้อดีของการใช้ HMI Cloud Free ด้วย Haiwell ว่ามีข้อดีอย่างไรในหัวข้อ “ แนะนำ HMI Cloud Free by Haiwell มีข้อดีอย่างไร? ”        โดย PLC on Cloud เป็นการนำเทคโนโลยี Cloud มาใช้ร่วมกับ PLC+HMI (Programmable Logic Controller+Human Machine Interface) ซึ่งทำให้สามารถควบคุมและตรวจสอบการทำงานของ PLC+HMI (Programmable Logic Controller+Human Machine Interface) ผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้ ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถควบคุมและตรวจสอบการทำงานของ PLC+HMI (Programmable Logic Controller+Human Machine Interface) ได้ทุกที่ทุกเวลา โดยไม่ต้องเข้าไปในระบบของโรงงานอุตสาหกรรม         ซึ่ง PLC on Cloud จะเป็นการแสดงผลการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของ PLC ผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยอาจมีรูปภาพของ PLC และสถานะของการทำงานของ PLC เช่น การทำงานปกติ หรือการเกิดข้อผิดพลาด และสามารถแสดงผลการทำงานของ PLC ในรูปแบบกราฟหรือข้อมูล Data ต่าง ๆ ได้ โดยผู้บรรยายสามารถ Monitor การแสดงผลผ่านทางหน้าเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชันบนมือถือได้ HMI Cloud Free by Haiwell เป็นโปรแกรมสำหรับการสร้างหน้าจอการควบคุม (Human Machine Interface) ที่ใช้งานได้โดยไม่ต้องเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต เป็นโปรแกรมที่ทำงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์และใช้งานได้ในโหมดออฟไลน์ (Offline Mode) โดยสำหรับ HMI Cloud Free by Haiwell จะมีการออกแบบโครงสร้างหน้าจอการควบคุมที่ใช้งานได้ง่าย และมีการจัดเรียงส่วนองค์ประกอบเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าใจและใช้งานได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ HMI Cloud Free by Haiwell ยังมีความสามารถในการสร้างหน้าจอการควบคุมที่มีการแสดงผลแบบ Real-Time ที่ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถตรวจสอบสถานะของอุปกรณ์ได้ในเวลาจริง ยกตัวอย่างการเขียน Ladder Diagram PLC ยี่ห้อ Unitronics การควบคุมเครื่องจักรบน HMI Cloud Free by Haiwell Haiwell scada เป็นโปรแกรม ที่ใช้ในการออกแบบ  หน้าจอ HMI รวมการ Config ค่าต่างๆ  ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับ PLC Mitsubishi , PLC Omron, Siemens, Delta, Modbus TCP/IP, Modbus RTU etc. HMI Haiwell  เป็นหน้าจอสื่อสารระหว่างเครื่องจักร กับคน ที่สามารถใช้งาน ผ่านFree Cloud โดยไม่มีค่าใช้จ่าย  และสามารถสื่อสาร Protocol  MQTT  และ DATA Base ได้โดยง่าย ตัวอย่างการใช้งาน HMI HAIWELL ผ่าน FREE CLOUD  HMI Cloud Free by Haiwell มีข้อดีหลายอย่างที่สามารถช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถออกแบบและควบคุมระบบอัตโนมัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและสะดวกสบาย ดังนี้ ใช้งานได้โดยไม่ต้องเชื่อมต่อกับคลาวด์ (Cloud) หรืออินเทอร์เน็ต ไม่ต้องกังวลเรื่องความเสียหายจากการตัดสินใจของคลาวด์หรือปัญหาเกี่ยวกับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต สามารถใช้งานได้ในโหมดออฟไลน์ (Offline Mode) ไม่จำเป็นต้องเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเพื่อใช้งานโปรแกรม ออกแบบโครงสร้างหน้าจอการควบคุมที่ใช้งานได้ง่าย ออกแบบโครงสร้างที่เข้าใจง่ายและมีการจัดเรียงส่วนองค์ประกอบเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น สร้างหน้าจอการควบคุมที่มีการแสดงผลแบบ Real-Time ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถตรวจสอบสถานะของอุปกรณ์ได้ในเวลาจริง สามารถเพิ่มอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เซ็นเซอร์ หรือคอนโทรลเลอร์ และกำหนดการทำงานต่างๆ ให้กับอุปกรณ์เหล่านี้ได้ ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถควบคุมระบบได้ง่ายขึ้น มีความปลอดภัยสูง     ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน ระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบควบคุมห้องเย็น ระบควบคุมเครื่องจ่ายเคมี Jazz Micro-OPLC Vision Programmable Logic Control Vision Programmable Logic Control Vision Programmable Logic Control Vision Programmable Logic Control โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
เคล็ดลับการเลือกซื้อหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      วิศวกรหรือผู้ที่กำลังมองหาหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) คงจะเจอปัญหาในการใช้งานการวัดค่าความเร็วรอบเครื่องจักร หรือ อถปกรณ์ต่าง ๆ อาทิ การพิจารณาเลือกอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบไม่เหมาะสม, ค่าที่วัดได้ไม่ตรง, การตั้งค่ายุ่งยาก, ขนาดตัวอักษรขนาดเล็กมองเห็นไม่ชัดเจน ฯลฯ ส่งผลให้การผลิตไม่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นวันนี้ผู้บรรยายจะขอแนะนำหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ว่ามี “เคล็ดลับการเลือกซื้อหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter)” อย่างไรให้เหมาะกับการใช้งาน ได้ค่าที่ถูกต้องแม่นยำ และสามารถตั้งค่าการใช้งานง่าย        โดยขอยกตัวอย่างหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) รุ่นต่าง ๆ ของยี่ห้อ Primus ดังนี้   Mini Tachometer (RPM & LINE SPEED) Model: DCM-001N, Brand: Primus Digital Tachometer (RPM & LINE SPEED) Model: CM-001L, Brand: Primus Digital Frequency Meters with Alarm Model: TFM-94N, Brand: Primus Big Display Digital Frequency Meters with Alarm Model: TIM-94B, Brand: Primus ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ที่ผู้อ่านสามารถพบเห็นได้ทั่วไปในงานภาคอุตสาหกรรม      ความเร็วรอบ (Tacho Meter) หมายถึง ความเร็วที่ชิ้นงานตัดหมุนรอบต่อหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยวัดเป็นรอบต่อนาที (RPM) โดย "RPM" ย่อมาจาก Revolutions per Minute ซึ่งในการวัดความเร็วรอบ (RPM) นั้น จะมีเซ็นเซอร์ (Sensor) ในการตรวจจับและเครื่องแสดงผลของความเร็วรอบ (RPM) เรียกว่า RPM Meter, Tachometer หรือ Digital Frequency Meter โดยมีหลักการวัดความเร็ว (Speed) ในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ส่วนใหญ่จะนำมาประยุกต์ในการวัดความเร็วรอบของเครื่องจักร เช่น เพลาล้อรถยนต์, ความเร็วรอบของใบพัด, รอบของลูกกลิ้ง, ความเร็วรอบของมอเตอร์ เป็นต้น โดยผู้อ่านสามารถอ่านบทความก่อนหน้านี้ในหัวข้อเรื่อง “วิธีการวัดค่าความเร็วรอบ (RPM Meter) ของมอเตอร์ ด้วย Proximity Switch” ที่ผู้บรรยายได้กล่าวถึงการใช้เซ็นเซอร์ประเภท Proximity Switch เป็นตัวเซ็นเซอร์ตรวจจับชิ้นงานและต่อเข้ากับหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) เพื่อแสดงค่าการวัดความเร็วรอบ โดยในบทความดังกล่าวจะบอกวิธีการเลือก Proximity Switch ว่าควรพิจารณาจากอะไร เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน      ซึ่งในวันนี้ผู้บรรยายจะขอบรรยายถึงเคล็ดลับการเลือกซื้อหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ว่าควรพิจารณาสิ่งสำคัญอะไรบ้างเพื่อให้ได้หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับการใช้งาน โดยสามารถพิจารณาสิ่งสำคัญดังนี้        ชนิดของเซ็นเซอร์ในการวัดความเร็วรอบ (Sensor Input Type) : การเลือกชนิดเซ็นเซอร์ไม่ตรงกับการใช้งานเป็นสิ่งสำคัญ หากเลือกไม่เหมาะสมจะทำให้การวัดไม่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ในการเลือกใช้งาน สิ่งที่สำคัญคือการตอบสนองความถี่ ซึ่งมีหน่วยเป็น Hz (ครั้งต่อวินาที) โดยการพิจารณาจากความเร็วสูงสุดของอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ว่าสามารถเข้ากับความถี่ชนิดของเซ็นเซอร์หรือไม่ และชิ้นงานที่ตรวจจับเป็นวัสดุอะไร ยกตัวอย่าง "โลหะ" แนะนำควรเป็นเซ็นเซอร์ชนิดอินดัคทีฟ (Inductive Proximity Sensor) และเซ็นเซอร์ชนิดต่าง ๆ เช่น โฟโต้สวิตช์ (Photo Switch),โฟโต้เซ็นเซอร์ (Photoelectric Sensor), เอ็นโค้ดเดอร์ (Encoder) โดยมีรายละเอียดดังนี้   Proximity Switch Photoelectric Sensor Encoder สามารถเลือก Pulse Output มีความละเอียด และมีความแม่นยำสูง มีความละเอียดและมีความแม่นยำสูง ความเร็วรอบต่ำมาก ควรใช้ Incremental Encoder      ชนิดของ Input ที่อุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบสามารถรับได้ : ควรพิจารณาชนิดของ Input ว่าอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบสามารถรับ Input ชนิดใดได้บ้าง เช่น Proximity Switch, โฟโต้สวิตช์ (Photo Switch),โฟโต้เซ็นเซอร์ (Photoelectric Sensor), เอ็นโค้ดเดอร์ (Encoder) เป็นต้น (ดังตาราง Spec) ชนิดเซ็นเซอร์ตรวจจับความเร็วรอบที่อุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบสามารถรับได้        ค่าการตอบสนองความถี่ (Hz) ของอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ : ควรพิจารณาเลือกความถี่ของชนิดเซ็นเซอร์ตรวจจับความเร็วรอบและความถี่ที่ระบุไว้ที่ Name Plate ของมอเตอร์ รวมถึงค่าการตอบสนองความถี่ (Hz) ของอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบว่ามีความเหมาะสมหรือไม่   ความถี่ของชนิดเซ็นเซอร์ตรวจจับความเร็วรอบ (1000 Hz) ความถี่ที่ระบุไว้ที่ Name Plate ของมอเตอร์ ค่าการตอบสนองความถี่ (Hz) ของอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ        ขนาดของตัวอักษรของอุปกรณ์หน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบเพื่อแสดงให้เห็นชัดเจน : ซึ่งขนาดของตัวอักษรก็เป็นปัจจัยสำคัญในการแสดงผล เพื่อให้ผู้อ่านค่าสามารถมองเห็นได้ชัดเจน โดยผู้อ่านสามารถเลือกได้ตามความเหมาะสม   Mini Tachometer (RPM & LINE SPEED) Model: DCM-001N, Brand: Primus Digital Tachometer (RPM & LINE SPEED) Model: CM-001L, Brand: Primus Digital Frequency Meters with Alarm Model: TFM-94N, Brand: Primus Big Display Digital Frequency Meters with Alarm Model: TIM-94B, Brand: Primus 4 หลัก ขนาด 0.39 นิ้ว 4 หลัก ขนาด 0.56 นิ้ว 5 หลัก ขนาด 0.56 นิ้ว 5 หลัก ขนาด 2.3 นิ้ว และ 4.3 นิ้ว (มีให้เลือก 2 Size)        การคำนวณเพื่อเลือกความถี่ของรุ่น Sensor ที่เหมาะสม : โดยสามารถอ้างอิงสูตรการคำนวณจากสมการ        จากข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้น ผู้อ่านสามารถใช้หลักการในการพิจารณาเลือกซื้อหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ได้ตามหัวข้อดังกล่าว ซึ่งถ้าปฏิบัติตามหลักการพิจารณาแล้ว ทางผู้บรรยายมั่นใจได้ว่าผู้อ่านจะสามารถเลือกหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ได้อย่างถูกต้องและใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ        ดังนั้นผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการต่อใช้งานของหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ร่วมกับ Proximity Switch ในการวัดความเร็วรอบของมอเตอร์ ดังนี้        ตัวอย่างการต่อใช้งานของหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) ร่วมกับ Proximity Switch ในการวัดความเร็วรอบของมอเตอร์        ข้อดีของการเลือกใช้งานหน้าจอแสดงผลการวัดความเร็วรอบ (RPM Meter, Tachometer, Digital Frequency Meter) รุ่น TIM-94B ยี่ห้อ Primus ดังนี้      • มีขนาดหน้าจอแสดงผลขนาดใหญ่ สามารถมองเห็นตัวเลขได้ชัดเจน 5 หลัก ขนาด 2.3 นิ้ว และ 4.3 นิ้ว      • สามารถแสดงค่าได้หลากหลายหน่วยการวัด          - Frequency(kHz, Hz)          - Speed(RPS, RPM)          - Line Speed (cm/s, cm/min, cm/hr, m/s, m/min, m/hr)      • รับอินพุตได้ Proximity Switch (NPN, PNP), Photo Sensor (NPN, PNP), Encoder และ Pulse      • มี 3 Relay Output พร้อม 4 Alarm Function      • มี Transfer Output แบบ 4-20mA และ 0-10VDC (Option)      • สามารถสื่อสารกับ Computer ผ่านพอร์ต RS485 MODBUS RTU Protocol (Option)      • สามารถจำค่าสูงสุดและต่ำสุดได้      • มี 1 Digital Input สำหรับ Reset ค่าต่าง ๆ        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   วัด Speed ของผ้า (m/min) วัดความเร็วรอบของโรเตอร์ (RPM) วัดความเร็วรอบของมอเตอร์ (RPM) RPM & LINE SPEED MINI TACHOMETER Digital Frequency Meters With Alarm DIGITAL TARGET COUNTER WITH RS485 Encoder โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
แนะนำฮีตเตอร์ (Heater) สำหรังงานอุ่น-ต้ม หรือชุบสารเคมี (Immersion Heater for Chemical)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      ฮีตเตอร์ (Heater) เป็นอุปกรณ์ให้ความร้อนแก่ชิ้นงานโดยใช้หลักการจ่ายกระแสไฟฟ้าไหลผ่านลวดตัวนำ (ตัวความต้านทาน R) ซึ่งส่งผลให้ลวดตัวนำมีความร้อนเกิดขึ้น โดยแหล่งจ่ายไฟสามารถใช้ได้กับแรงดัน 220VAC และ 380VAC ปัจจุบันมีการใช้งานฮีตเตอร์ (Heater) ในภาคอุตสาหกรรมทุกประเภท เช่น งานขึ้นรูปพลาสติก, งานอบอาหาร, ห้องอบสี เป็นต้น      ปัจจุบันฮีตเตอร์ (Heater) มีหลากหลายประเภท ขึ้นอยู่กับการนำไปใช้งาน โดยแยกตามประเภทดังนี้ ฮีตเตอร์ต้มน้ำยาเคมี (Quartz Heater) ฮีตเตอร์ต้มน้ำ/จุ่ม (Immersion Heater) ฮีตเตอร์บอบบิ้น (Bobbin Heater) ฮีตเตอร์แท่ง (Cartridge Heater)   ฮีตเตอร์อินฟราเรด (Infrared Heater) ฮีตเตอร์ทิวบูลาร์/ท่อกลม (Tubular Heater) ฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater) คอยล์ฮีตเตอร์ (Coil Heater)      จากตัวอย่างประเภทของฮีตเตอร์ (Heater) ดังตารางดังกล่าวนั้น ฮีตเตอร์ (Heater) ถูกแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ตามลักษณะการใช้งานอธิบายได้ดังนี้      1. ฮีตเตอร์ (Heater) สำหรับใช้ให้ความร้อนกับของเหลวทุกชนิด เช่น ต้มน้ำ, อุ่นน้ำมัน, อุ่นสารเคมี เป็นต้น      2. ฮีตเตอร์ (Heater) สำหรับใช้ให้ความร้อนในอากาศเท่านั้น เช่น งานอบแห้ง, ไล่ความชื้น, ใช้ในท่อ Duct, งานเตาอบต่าง ๆ      3. ฮีตเตอร์ (Heater) สำหรับใช้ให้ความร้อนกับชิ้นงานโดยตรง เช่น งานแม่พิมพ์, เครื่องรีดถุงพลาสติก      ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเลือกใช้งานฮีตเตอร์ (Heater) แต่ละประเภทได้ตามความเหมาะสมของลักษณะงานนั้น ๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยวันนี้ผู้บรรยายจะขอแนะนำฮีตเตอร์ (Heater) ที่ใช้กับงานอุตสาหกรรมประเภทอุ่น-ต้ม หรือชุบสารเคมี ในหัวข้อ “แนะนำฮีตเตอร์ (Heater) สำหรังงานอุ่น-ต้ม หรือชุบสารเคมี (Immersion Heater for Chemical)” ให้เหมาะสมสำหรับอุตสาหกรรมเคมี, ห้องแล็ป เป็นต้น โดยผู้บรรยายขอแนะนำฮีตเตอร์ (Heater) 3 ชนิด ดังนี้      1. ฮีตเตอร์บอบบิ้น (Bobbin Heater)      2. ฮีตเตอร์ต้มน้ำยาเคมี (Quartz Heater)      3. ฮีตเตอร์ต้มน้ำ/จุ่ม (Immersion Heater) ซึ่งฮีตเตอร์ (Heater) ทั้ง 3 ชนิด เหมาะสำหรับงานอุ่น-ต้ม หรือชุบสารเคมี (Immersion Heater for Chemical) มีตัวอย่างดังนี้      1. ฮีตเตอร์บอบบิ้น (Bobbin Heater)      ฮีตเตอร์บอบบิ้น (Bobbin Heater) เป็นฮีตเตอร์ (Heater) แบบจุ่มน้ำชนิดหนึ่ง ซึ่งถูกออกแบบมาสำหรับให้ความร้อนกับของเหลวประเภทสารเคมี สามารถเคลื่อนย้ายได้ ปลอกฮีตเตอร์สามารถเลือกให้เหมาะสมกับการใช้งาน มีให้เลือกทั้งสแตนเลสและควอทซ์ โดยแบบสแตนเลสมีข้อดีคือเมื่อฮีตเตอร์เสียสามารถซ่อมได้ และแบบควอทซ์ใช้สำหรับงานชุบโดยใช้ไฟฟ้า แช่ในกรดหรือสารละลาย ภายในตัวฮีตเตอร์ออกแบบเป็นแบบขดลวดให้ความร้อนสม่ำเสมอ ท่อป้องกันภายนอกทำจากสแตนเลส 304, 316 (SUS 316) ทนทานสารเคมี มีขนาดวัตต์ ความยาว ความโตและโวลต์หลากหลายตามการใช้งานทนต่อการกระแทกมากกว่า ฮีตเตอร์หลอดแก้ว      ลักษณะของการนำไปใช้งานฮีตเตอร์บอบบิ้น (Bobbin Heater)  : ให้ความร้อนกับของเหลว งานชุบโลหะ เช่นชุบโครเมี่ยม,ซิงค์, นิเกิล, กรด , ด่าง นอกจากนี้ สามารถใช้อุ่นหรือต้มของเหลวที่เหนียวข้นได้หลายชนิด ที่ไม่ทำ ปฏิกิริยากับสแตนเลส 316 (SUS 316) เช่น อุ่นกาว, ยางมะตอย เป็นต้น      ข้อควรระวังการใช้ฮีตเตอร์บอบบิ้น (Bobbin Heater)      • ควรออกแบบให้มีระดับ heat zone ต่ำกว่าระดับของเหลวที่ใช้เสมอเพื่อป้องการน้ำแห้ง      • ไม่ควรกระแทกตัวฮีตเตอร์เพราะอาจทำให้มีรอยร้าวหรือเกิดการเสียหายภายใน      • ควรมีตัวเช็คระดับของเหลวให้คงที่อยู่เสมอ      ตัวอย่างการต่อใช้งานฮีตเตอร์บอบบิ้น (Bobbin Heater) กับบ่อชุบสารเคมี      2. ฮีตเตอร์ต้มน้ำยาเคมี (Quartz Heater)      ฮีตเตอร์ต้มน้ำยาเคมี (Quartz Heater) เป็นฮีตเตอร์ (Heater) ประเภทจุ่มกับของเหลวเพื่อให้ความร้อน มีความพิเศษคือวัสดุเป็นท่อควอทซ์แท่งแก้ว มีสีออกขุ่น ๆ โดยมีคุณสมบัติไม่ทำปฏิกิริยากับสารละลายชนิดต่าง ๆ จึงเหมาะที่จะนำไปใช้งานจำพวกต้มสารเคมีที่ใช้ชุบชิ้นงาน งานประเภทสารละลายที่เป็นกรดหรือด่าง สามารถถ่ายเทความร้อนได้ทั่วแท่งแก้ว โดย Quartz Heater เป็นฮีตเตอร์แท่งแก้วที่ใช้งานโดยการให้ความร้อนกับของเหลวภายในแท่งแก้ว โดยจะมีขดลวดให้ความร้อนอยู่ภายใน ภายนอกจะมีท่อ PVC เป็นตัวป้องกันการกระแทกโดยตรงกับแท่งแก้ว      ลักษณะของการนำไปใช้งานฮีตเตอร์ต้มน้ำยาเคมี (Quartz Heater) : งานอุ่นสารเคมีที่มีความเข้มข้น, โรงชุบ หรือต้มหรืออุ่นของเหลวทั่วไป      ข้อควรระวังการใช้ฮีตเตอร์ต้มน้ำยาเคมี (Quartz Heater)      • ฮีตเตอร์ต้มน้ำยาเคมี (Quartz Heater) เป็นฮีตเตอร์ที่เป็นแท่งแก้ว อาจทำให้มีความเสี่ยงกับการแตกหักได้ โดยภายนอกจะมีท่อ PVC เป็นตัวป้องกันการกระแทกโดยตรงกับแท่งแก้วในระดับนึง      ตัวอย่างการต่อใช้งานฮีตเตอร์ต้มน้ำยาเคมี (Quartz Heater) กับบ่อชุบสารเคมีในโรงงานจิวเวลลี่      3. ฮีตเตอร์ต้มน้ำ/จุ่ม (Immersion Heater)      ฮีตเตอร์ต้มน้ำ/จุ่ม (Immersion Heater) เป็นฮีตเตอร์ (Heater) แบบจุ่มน้ำชนิดหนึ่ง ใช้ให้ความร้อนกับของเหลวทุกชนิด เช่น งานต้มน้ำ, ต้มน้ำมัน หรือของเหลวทั่วไป เป็นต้น โดยวัสดุที่เหมาะสมกับการใช้ในงานสารเคมีควรเป็นสแตนเลส 316 โดยสามารถติดตั้งได้ทั้งแบบเกลียวหรือแบบหน้าแปลน      ลักษณะของการนำไปใช้งานฮีตเตอร์ต้มน้ำ/จุ่ม (Immersion Heater) : ใช้ให้ความร้อนกับของเหลวทุกชนิด เช่น ต้มน้ำ, อุ่นน้ำมัน, อุ่นสารเคมี เป็นต้น Immersion Heater เป็นฮีตเตอร์สำหรับงานให้ความร้อนกับของเหลว โดยสามารถติดตั้งได้ทั้งแบบเกลียวหรือแบบหน้าแปลน      ข้อควรระวังการใช้ฮีตเตอร์ต้มน้ำ/จุ่ม (Immersion Heater)      • จะต้องคำนึงถึงระยะ Heat Zone จะต้องไม่ให้โผล่พ้นของเหลว เพราะจะมีผลให้เกิดการเผาตัวเองและขาดในที่สุด      ตัวอย่างการต่อใช้งานฮีตเตอร์ต้มน้ำ/จุ่ม (Immersion Heater) กับเครื่องล้างตะกร้า      จากที่ผู้บรรยายได้ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานฮีตเตอร์ (Heater) สำหรับงานอุ่น-ต้ม หรือชุบสารเคมี (Immersion Heater for Chemical) ข้างต้น สามารถบอกถึงข้อดีของฮีตเตอร์ (Heater) 3 ประเภทดังกล่าว ได้ดังนี้      1. สามารถเลือกใช้งานฮีตเตอร์ (Heater) สำหรับงานอุ่น-ต้ม หรือชุบสารเคมีได้นาน เนื่องจากเป็นฮีตเตอร์ที่ทนกับสารประเภทเคมีโดยเฉพาะ      2. สามารถเลือกใช้งานฮีตเตอร์ (Heater) สำหรับงานอุ่น-ต้ม หรือชุบสารเคมีได้หลากหลายรูปแบบ ทั้ง Immersion Heater, Quartz Heater, Bobbin Heater      3. สามารถสั่งทำตามแบบที่ต้องการได้ อาทิ การติดตั้ง, ขนาดตวามยาว, ขนาด Diameter และแรงดันไฟฟ้า      4. เหมาะกับงานที่มีพื้นที่จำกัดในการให้ความร้อนภายในถัง      5. เหมาะกับกลุ่มลูกค้า โรงชุบ โรงงานผลิต แว่นตา จิวเวลลี่ สลักภัณฑ์ เป็นต้น      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน เครื่อง Basket Washer บ่อชุบโลหะ เครื่องชุบจิวเวลลี่ Heater Break Alarm Digital Monitor For Heater Break Alarm Digital Temperature Controller PID Control Function Solid State Relay Anti-Condensation Heater โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
4 ตัวอย่าง การประยุกต์ใช้งาน PLC+HMI ในงานอุตสาหกรรม

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) เป็นการทำงานร่วมกัน โดยใช้ PLC เป็นตัวควบคุม และ HMI เป็นตัวสื่อสารระหว่างผู้ใช้งาน (Human) กับระบบ Module PLC หรือจอแสดงผลต่าง ๆ โดยให้ PLC สั่งงานไปที่เครื่องจักร (Machine) อีกที เพื่อควบคุมอุปกรณ์เครื่องมือวัดหรือควบคุมเครื่องจักรแบบอัตโนมัติ โดยมีความหมายแยกย่อยดังนี้        PLC ย่อมาจาก โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอลโทรล (Programmable Logic Control) เป็นอุปกรณ์ชนิดที่ทำงานแบบลอจิก (Logic Functions) การทำงานของ PLC จะคล้ายกับหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่มีอินพุต (Input), หน่วยประมวลผล (Process Microprocessor ) และเอาต์พุต (Output) เพื่อต่อออกไปใช้งานในการควบคุมการทำงานของเครื่องจักร (Machine) หรืออุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรมและกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นการพัฒนามาจากการใช้อุปกรณ์ควบคุมด้วยรีเลย์ (Relay)        HMI ย่อมาจาก Human Machine Interface เป็นการสื่อสารระหว่างผู้ใช้งาน (Human) กับ PLC หรือจอแสดงผล (Display) ต่าง ๆ ในระบบ        ปัจจุบันในงานภาคอุตสาหกรรมเกือบทุกประเภท ผู้ประกอบการหันมานิยมใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีเป็นตัวควบคุมการทำงานของเครื่องจักรแทนคน เพื่อลดปัญหาการ Error Manpower และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 24 ชั่วโมง ซึ่งตัวเลือกที่ผู้ประกอบการเลือกใช้คือการควบคุมเครื่องจักรแบบอัตโนมัติโดยใช้ PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) เป็นตัวควบคุมระบบและตรวจสอบการทำงานต่าง ๆ ของกระบวนการผลิตภายในโรงงานและสัญญาณต่าง ๆ ผ่านระบบและอุปกรณ์ที่ติดตั้งไว้ เมื่อ PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) พบความผิดปกติจากการทำงานของเครื่องจักรก็สามารถดำเนินการแก้ไขในแต่ละจุดได้ทันที โดยผ่านการแจ้งเตือน Alarm ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ไฟสัญญาณแจ้งเตือน (Signal Tower Light), Line, SMS Mobile, E-mail เป็นต้น        ผู้บรรยายขอยกตัวอย่าง PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) ยี่ห้อ UNITRONICS โดยมีรายละเอียดคุณสมบัติแต่ประเภทดังนี้   M91 MICRO-OPLC JAZZ MICRO-OPLC SAMBA V570 COLOR OPLC   1040 COLOR OPLC  V260 GRAPHIC/TOUCH OPLC V530 GRAPHIC/TOUCH OPLC UNISTREAM COLOR OPLC      จากบทความที่ผ่านมาในหัวข้อต่าง ๆ อาทิ เช่น      • ทำไมต้องใช้ PLC+HMI ในการควบคุมเครื่องจักรในยุคปัจจุบัน      • 7 ข้อดี ที่ทำให้ PLC ได้รับความนิยมสำหรับงานควบคุมอัตโนมัติในโรงงานอุตสาหกรรม      • ข้อควรระวังในการติดตั้ง PLC (Programmable Logic Control) และการ Wiring สาย และหัวข้ออื่น ๆ โดยผู้อ่านสามารถเข้าไปอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ตามหัวข้อดังกล่าวที่มีการอธิบายถึงข้อดีและประโยชน์การใช้ PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) และข้อควรระวังต่าง ๆ ในการใช้งาน PLC+HMI      ในวันนี้ผู้บรรยายจะขอยกตัวอย่างการนำ PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) มาประยุกต์ใช้งาน เพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องจักรแบบอัตโนมัติในกระบวนการผลิต ในหัวข้อ “4 ตัวอย่าง การประยุกต์ใช้งาน PLC+HMI ในงานอุตสาหกรรม” โดยการเขียนโปรแกรม ดังนี้        1. ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานควบคุมความชื้นและอุณหภูมิในห้อง Clean Room แบบอัตโนมัติด้วย PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) โดยใช้ Power SCR + Heater ตัวอย่างโปรแกรมคำสั่งควบคุมความชื้นและอุณหภูมิในห้อง Clean Room แบบอัตโนมัติด้วย PLC+HMI โดยใช้ Power SCR + Heater        ข้อดีของการควบคุมความชื้นและอุณหภูมิในห้อง Clean Room แบบอัตโนมัติด้วย PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) ดังนี้      • ระบบควบคุมความชื้นสามารถที่จะตั้งค่าความชื้น %RH ตามที่ผู้ใช้งานต้องการ      • ระบบควบคุมความชื้นและอุณหภูมิภายในห้อง สามารถเลือกได้ 2 ระบบ คือ ระบบอัตโนมัติ และ ระบบ Manual      • ระบบควบคุมความชื้นแบบ Manual  มีใว้สำหรับลดความชื้นในห้องอย่างรวดเร็วตามที่ผู้ใช้ต้องการ      • ระบบทำความเย็นและระบบควบคุมความชื้นจะทำงานไปพร้อม ๆ กันและสัมพันธ์กันแบบ ชอัตโนมัติ โดยยึดอุณหภูมิที่ตั้งใว้ในห้องเป็นมาตรฐาน        2. ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานควบคุมระบบควบคุมประตูอัตโนมัติด้วย PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) ตัวอย่างโปรแกรมคำสั่งควบคุมระบบควบคุมประตูอัตโนมัติด้วย PLC+HMI        ข้อดีของการควบคุมระบบควบคุมประตูอัตโนมัติด้วย PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) ดังนี้      • ลดความซับซ้อนในการเดินสายไฟ      • ระยะในการขึ้นลงแม่นยำ และสะดวกในการซ่อมบำรุง        3. ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานเครื่องจ่ายเคมีในการล้างอัตโนมัติด้วย PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) ตัวอย่างโปรแกรมคำสั่งเครื่องจ่ายเคมีในการล้างอัตโนมัติด้วย PLC+HMI        ข้อดีของการควบคุมเครื่องจ่ายเคมีในการล้างอัตโนมัติด้วย PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) ดังนี้      • ใช้งานง่าย ควบคุมได้สะดวก      • ควบคุมปริมาณการจ่ายได้อย่างแม่นยำ        4. ยกตัวอย่างตู้ควบคุมห้องอบรมเซรามิคอัตโนมัติด้วย PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) ตัวอย่างโปรแกรมคำสั่งตู้ควบคุมห้องอบรมเซรามิคอัตโนมัติด้วย PLC+HMI        ข้อดีของตู้ควบคุมห้องอบรมเซรามิคอัตโนมัติด้วย PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) ดังนี้      • สามารถเลือกโปรแกรมในการอบได้      • มีความแม่นยำสูงในการควบคุมอุณหภูมิ      • ตรวจสอบการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   ระบบควบคุม Booster Pump ควบคุมชิลเลอร์ ควบคุมระบหัวเผา ไบโอแก๊ส Signal Transmitter SPDT Relay Module รีเลย์โมดูล Relay Module Relay Unit Interface Switching Power Supply Target Counter โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
มาทำความรู้จักอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      กระแสไฟฟ้ารั่ว หรือ ไฟรั่ว คือการที่กระแสไฟฟ้ารั่วไหลจากวงจรไฟฟ้าไปสู่ภายนอกที่ผิวของสายไฟหรือโครงโลหะของอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า หรือรั่วไปที่ผิวของโครงหรือผนังของจุดติดตั้งระบบไฟฟ้า หากสัมผัสอาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ โดยเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น การเดินสายไฟที่ไม่ได้มาตรฐาน การขาดการตรวจสอบและบำรุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้า การใช้งานที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการเสื่อมสภาพของฉนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้มาเป็นเวลานาน เป็นต้น        ในภาคอุตสาหกรรมที่มีการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าเป็นส่วนใหญ่จะมีค่าแรงดัน กำลังไฟฟ้าที่สูง สิ่งที่ควรคํานึงถึงคือเรื่องความปลอดภัยมาเป็นอันดับแรก เนื่องจากอาจเกิดความเสียหายแก่อุปกรณ์เครื่องมือวัดไฟฟ้าหรือผู้ปฏิบัติงานได้ โดยทุกโรงงานต้องจัดให้มีการตรวจสอบระบบไฟฟ้าและมีการรับรองความปลอดภัยของระบบไฟฟ้าในทุก ๆ ปี ดังนั้นการเลือกอุปกรณ์ป้องกันและรักษาความปลอดภัยให้แก่ไฟฟ้าในโรงงานจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อเป็นการขับเคลื่อนเครื่องจักรหรือสร้างผลผลิตและการทำงานให้มีประสิทธิภาพตามกฎหมายและพระราชบัญญัติที่กำหนด ดังนั้นผู้ประกอบการควรเลือกใช้อุปกรณ์ที่เสริมความปลอดภัยให้แก่ระบบไฟฟ้าอย่างเหมาะสม เช่น อุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay), Motor Protection Relay, Digital Relay และ Over Current Relay, เครื่องตัดไฟรั่ว RCD (Residual Current Device) เป็นต้น        ดังนั้นในวันนี้ผู้บรรยายจะขอยกตัวอย่างอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-Series ในหัวข้อ “มาทำความรู้จักอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay)?” โดยอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay) รุ่น VPM-08-1 และ VPM-08-2 มีคุณสมบัติแตกต่างกันดังนี้   Description อุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า(Ground Fault) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-1 อุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-2 Display Size 0.39 Inch, 4 Digits, 1 Row Size 0.39 Inch, 4 Digits, 2 Row Current (Input) Connection 1 CT, Direct Connection 1 CT, Direct Current Transformer Ratio (Input) 1-1000 1-1000 Primary (Input) 999.9A 999.9A Secondary (Input) 0.1-5A 0.1-5A Under-Over Voltage (Function) No Yes Phase Loss (Function) No Yes Phase Sequence (Function) No Yes Phase Unbalance (Function) No Yes Output 2 SPDT 5A 250VAC 3 SPDT 5A 250VAC Communication (Option) RS-485 Modbus RTU Protocol RS-485 Modbus RTU Protocol      อุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay) คือ อุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วไหลในระบบไฟฟ้าโดยใช้หลักการวัดกระแสที่บัสบาร์กราวด์ โดยมีระบบ Alarm เพื่อแจ้งเตือนเมื่อเริ่มมีการรั่วไหลของกระแส และมี Output เพื่อสั่งตัดวงจร และปัจจุบันมี Function Phase Protection สำหรับแสดงผลและตรวจสอบแรงดันไฟฟ้า โดยจะทำการตรวจวัดค่าแรงดันไฟฟ้าว่าปกติหรือไม่ คือ Under-Over Voltage, Phase Unbalance, Phase Loss, Phase Sequence เป็นต้น โดยการต่อวงจรวัดกระแสที่บัสบาร์ทั้ง 4 CT เฟส R, S, T และ N เพื่อตรวจจับกระแสรั่วไหลในระบบไฟฟ้า ดังนี้      หลักการวัดกระแสที่บัสบาร์ทั้ง 4 CT เฟส R, S, T และ N เพื่อตรวจจับกระแสรั่วไหลในระบบไฟฟ้า วงจรการต่อวัดกระแสที่บัสบาร์ทั้ง 4 CT เฟส R, S, T และ N เพื่อตรวจจับกระแสรั่วไหลในระบบไฟฟ้า        จากข้อมูลดังกล่าวของอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-Series ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการทำงานของอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-2 ดังนี้   อุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-2 แสดงการต่อวงจรใช้งานอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-2        อุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-2 เป็นอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วไหลในระบบไฟฟ้าใช้หลักการวัดกระแสโดยคล้อง CT ไว้ที่บัสบาร์กราวด์ เพื่อตรวจสอบกระแสเกินกว่าที่ตั้งไว้ Output 1 และ Output 2 จะสั่ง On Relay ตามเวลา Timer On (TN) ที่ตั้งไว้ หลังจากนั้นหากอยู่ในโหมด Auto Relay จะหยุดทำงานก็ต่อเมื่อกระแสต่ำกว่าค่า Setpoint และช่วงกระแส Hysteresis (HYS) ที่ตั้งไว้ตามเวลา Timer Off (LF) หากอยู่ในโหมด Manual โดยโหมดนี้สามารถตั้งค่าจำนวนครั้งในการทริปได้ตั้งแต่ 1-10 ครั้ง เพื่อให้ Relay On ค้างตลอด จนกว่าจะมีการ Reset การ Set ค่า Output 2 โดยใช้การกดปุ่ม TEST ที่หน้าจอค้างไว้ 5 วินาที เพื่อให้ VPM-08 จำค่ากระแสที่วัดได้ขณะนั้น เป็นค่า Setpoint เพื่อตั้งค่าในการตัดวงจร และใช้เพื่อ Test สถานะการทำงานของ Relay และยังมีฟังก์ชัน Phase Protection ที่แสดงผลและตรวจสอบแรงดันไฟฟ้า โดยจะทำการตรวจวัดค่าแรงดันไฟฟ้าว่าปกติหรือไม่ คือแรงดันไม่สูงเกินหรือต่ำเกินกว่าที่ตั้งไว้ เฟสไม่สมดุล (Phase Unbalance) ไม่เกินกว่าเปอร์เซ็นต์ที่ตั้งไว้ (Range 2-20%) เฟสขาดหาย และลำดับเฟสถูกต้อง ถ้าทุกอย่างปกติ Output 3 จะสั่ง On Relay ตามเวลา Timer On (LN) ที่ตั้งไว้ และสามารถตั้งค่าเปิด-ปิดการใช้งานการตรวจวัดค่าแรงดันสูงเกินหรือต่ำเกิน, เฟสไม่สมดุล (Phase Unbalance) หรือลำดับเฟสไม่ถูกต้อง และตั้งเวลา Real Time Clock สำหรับเรียกดูความผิดปกติย้อนหลังของแต่ละ Output และเก็บเวลาที่เกิดขึ้น ดังตัวอย่างกราฟ        กราฟการทำงานของอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-2        จากข้อมูลข้างต้นของอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-Series สามารถยกตัวอย่างการต่อวงจรการประยุกต์ใช้งานดังนี้        ตัวอย่างการต่อวงจรการประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-1        ตัวอย่างการต่อวงจรการประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-2        จากที่ผู้บรรยายได้ยกตัวอย่างการต่อวงจรการประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-1 และยกตัวอย่างการต่อวงจรการประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์ป้องกันกระแสรั่วในระบบไฟฟ้า (Ground Fault & Phase Protection Relay) ยี่ห้อ Primus รุ่น VPM-08-2 สามารถบอกถึงข้อดีได้ดังนี้      1. เป็น Relay ตรวจสอบไฟรั่วในระบบไฟฟ้าและแจ้งเตือนได้อย่างทันทีทันใด      2. ประหยัดกว่า Relay ทั่วไป เนื่องจากมีระบบป้องกันไฟรั่วและป้องกันไฟตก-ไฟเกินในตัว      3. ติดตั้งรวดเร็วกว่า ใช้อุปกรณ์และสายไฟน้อยกว่า      4. ป้องกันระบบไฟฟ้าอย่างมั่นใจ ได้มาตรฐาน CE Mark      5. สามารถเก็บค่า Alarm ที่เกิดขึ้น และเวลาได้อย่างแม่นยำ เพื่อเรียกดูค่าย้อนหลัง      6. เหมาะสำหรับเพิ่ม Option ในการป้องกันระบบไฟรั่วให้กับตู้คอนโทรล เนื่องจาก Air Circuit Breakers (ACB) ที่ติด Option ป้องกันระบบไฟฟ้ารั่ว ราคาค่อนข้างสูง        นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ป้องกันแรงดันไฟตก-ไฟเกินและเช็คเฟส (Phase Protection Relay) เช่น Under-Over Voltage, Phase Unbalance, Phase Loss, Phase Sequence เป็นต้น        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน Ground Fault & Phase Protection Relay VPM-08-Series ใช้ในการตรวจเช็คระบบไฟฟ้ารั่วของตู้คอนโทรล MDB Phase Protection Relay Digital Voltage Protection Relay Digital Voltage Protection Relay Phase Selector อุปกรณ์ที่จ่ายไฟ 1 Phase 220VAC Ground Fault&Phase Protection Relay   โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
ลดวงจรรีเลย์เลือกเฟสโดยใช้อุปกรณ์เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน (Phase Selector with Protection Relay)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      ระบบไฟฟ้าเป็นปัญหาที่พบบ่อยในโรงงานอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นไฟตก-ไฟเกิน (Under-Over Voltage), ไฟดับ (Black Out), ไฟกระชาก (Spike) รวมถึงสัญญาณรบกวน (Noise) ต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในกระบวนการผลิตเป็นอย่างมาก เนื่องจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จะมีความไวต่อความผิดปกติของกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจทำให้ชิ้นงานชำรุดเกิดความเสียหายได้ ดังนั้นจึงได้มีการติดตั้งอุปกรณ์รีเลย์ (Relay) ประเภทหนึ่งที่เรียกว่า รีเลย์สำหรับป้องกันแรงดันไฟตก-ไฟเกิน (Under-Over Voltage) และมีการเช็คเฟสด้วย (Phase Protection Relay) ใช้สำหรับป้องกันความผิดปกติที่เกิดกับอุปกรณ์ไฟฟ้าของระบบไฟ 3 เฟส 3 สาย และ 3 เฟส 4 สาย โดยมีเงื่อนไขการเช็คเฟสดังนี้      • ตรวจสอบเฟสขาดหาย (Phase Loss)      • เฟสไม่สมดุล (Phase Unbalance)      • ตรวจสอบลำดับเฟส (Phase Sequence) ของระบบไฟ 3 เฟส ป้องกันมอเตอร์หมุนผิดทิศทาง เป็นต้น และ Phase Selector with Protection Relay (เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน) อุปกรณ์เลือกเฟสอัตโนมัติเพื่อจ่ายให้ระบบ Voltage Monitoring หรือระบบ Protection ต่าง ๆ ของตู้ MDB และ DB นิยมใช้ร่วมกับ Phase Protection, Under-Over Voltage Trip, Shunt Trip เป็นต้น ซึ่งทางผู้บรรยายได้อธิบายไว้ในหัวข้อ “ข้อดีของการใช้ Phase Selector with Protection Relay (เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน)” เพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ โดยเฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน (Phase Selector with Protection Relay) ที่ใช้สำหรับงานระบบ Protection ยกตัวอย่าง รุ่น VPM-07-1 และ VPM-07-2 ดังนี้ Phase Selector with Protection Relay (เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน) Phase Selector External Phase Protection รุ่น VPM-07-1 หน้าจอแสดงสถานะ   Phase Selector Internal Phase Protection + 1 Relay รุ่น VPM-07-2 หน้าจอแสดงสถานะ      Phase Selector with Protection Relay (เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน) อุปกรณ์เลือกเฟสอัตโนมัติเพื่อจ่ายให้ระบบ Voltage Monitoring หรือระบบ Protection ต่าง ๆ ของตู้ MDB และ DB นิยมใช้ร่วมกับ Phase Protection, Under-Over Voltage Trip, Shunt Trip เป็นต้น โดยผู้ใช้สามารถพบเห็น Phase Selector with Protection Relay (เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน) ในงานอุตสาหกรรม เช่น Phase Selector with Protection Relay (เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน) รุ่น VPM-07-Series ยี่ห้อ “Primus” โดยสามารถรับแรงดันไฟฟ้า 3 Phase 380VAC (4 Wire) และจ่ายไฟ 1 Phase 220VAC, 5A, 50Hz จำนวน 2 Output (สำหรับจ่าย Shunt Trip และ Load อื่น ๆ)      Phase Selector with Protection Relay (เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน) ยกตัวอย่าง 2 รุ่น คือ VPM-07-1 (Phase Selector External Phase) และVPM-07-2 (Phase Selector Internal Phase Protection) โดยมีความแตกต่างกัน ดังนี้      • VPM-07-1 (Phase Selector External Phase) เป็นรุ่นที่ต้องต่อกับ Phase Protection Relay ภายนอก เมื่อเกิดความผิดปกติของระบบไฟฟ้า 3 Phase VPM-07-1 (Phase Selector External Phase) จะรับสัญญาณ Dry Contact ที่ Protection Input Trip จะเริ่มหน่วงเวลาตามระยะเวลาที่ตั้งค่าไว้ และจ่ายไฟ 220VAC เมื่อครบเวลาที่ตั้งค่าไว้ แต่ถ้ามีสัญญาณ Dry Contact ที่ External Input Trip VPM-07-1 (Phase Selector External Phase) จะไม่หน่วงเวลาและจ่ายไฟ 220VAC ทันที ถึงแม้ Protection Input Trip จะทํางานหรือไม่ก็ตาม      • VPM-07-2 (Phase Selector Internal Phase Protection) เป็นรุ่นที่มี Phase Protection Relay อยู่ในตัว ไม่ต้องใช้ Phase Protection จากภายนอก โดยแยกการทํางานเป็น 2 ส่วน คือ         - Phase Protection เมื่อจ่ายไฟเข้าระบบ VPM-07-2 (Phase Selector Internal Phase Protection) จะทําการตรวจวัดแรงดันไฟฟ้าว่าปกติหรือไม่ คือ แรงดันไฟฟ้าไม่สูงเกินหรือตํ่าเกินกว่าค่าที่ตั้งไว้ และเฟสไม่สมดุล (Phase Unbalance) ไม่เกินกว่าเปอร์เซ็นที่ตั้งค่าไว้ (Range 2-20%) และลําดับ Phase ถูกต้อง VPM-07-2 (Phase Selector Internal Phase Protection) จะเริ่มหน่วงเวลาตาม T-ON ที่ตั้งค่าไว้ (Range 0-900 Sec) จากนั้น Relay Output 3 เริ่มทํางาน หากเมื่อแรงดันไฟฟ้าสูงเกินหรือตํ่าเกินกว่าค่าที่ตั้งไว้ หรือเฟสไม่สมดุล (Phase Unbalance) เกินกว่าเปอร์เซ็นต์ที่ตั้งค่าไว้ (Range 2-20%) หรือลําดับเฟสไม่ถูกต้อง VPM-07-2 (Phase Selector Internal Phase Protection) จะเริ่มหน่วงเวลาตาม T-OFF ที่ตั้งค่าไว้ (Range 0-10 Sec) เมื่อครบเวลา Relay Output 3 จะหยุดทํางาน         - Phase Selector เมื่อ VPM-07-2 พบความผิดปกติตต่อระบบไฟ 3 Phase ก็เริ่มหน่วงเวลา 0.1-99.9 Sec และจ่ายไฟ 220VAC ที่ Output 1 เมื่อครบเวลาที่ตั้งค่าไว้ แต่ถ้า External Input Trip รับสัญญาณ Dry Contact VPM-07-2 จะไม่หน่วงเวลาและจ่ายไฟ 220VAC ทันทีถึงแม้ว่าจะเกิดความผิดปกติต่อระบบไฟ 3 Phase หรือไม่ก็ตาม      โดยในวันนี้ผู้บรรยายจะขอยกตัวอย่าง Phase Selector with Protection Relay (เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน) ว่ามีวิธีการลดวงจรรีเลย์เลือกเฟสอย่างไร? ในหัวข้อ “ลดวงจรรีเลย์เลือกเฟสโดยใช้อุปกรณ์เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน (Phase Selector with Protection Relay)” โดยสามารถยกตัวอย่างวงจรการต่อใช้งานของ Phase Selector with Protection Relay (เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน) รุ่น VPM-07-Series ยี่ห้อ Primus ดังนี้      ตัวอย่างวงจรการต่อใช้งานของ Phase Selector with Protection Relay (เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน) รุ่น VPM-07-Series ยี่ห้อ Primus      จากรูปเป็นวงจรใช้ในการทริประบบ Air Circuit Breakers (ACB) ของตู้สวิทช์บอร์ด โดยใช้อุปกรณ์ ตัว VPM-07-Series ในการเช็คเลือกเฟสไฟเลี้ยงโดยเลือกเฟสของไฟเลี้ยงมาเพื่อสั่งทริปวงจร Shunt Trip กรณีผิดปกติจากระบบไฟฟ้า เช่น ไฟตก-ไฟเกิน, สลับเฟส, เฟสขาดหาย และเฟสไม่สมดุล VPM-07-Series จะเริ่มหน่วงเวลาตามที่ตั้งไว้ และสั่งจ่ายไฟไปที่ Shunt Trip (Output1) เพื่อปลดวงจร โดยขอแค่มีไฟมาเลี้ยง 1 เฟส เฟสใดก็ได้ตัว VPM-07-Series จะทำการเลือกเฟสที่มีไปใช้งานเองโดยอัตโนมัติ และ VPM-07-Series จะมีไฟเลี้ยงวงจรคอนโทรล (Output 2) เพื่อไปเลี้ยงในตู้สวิทช์บอร์ดเสมอไม่ว่าเฟสใดเฟสหนึ่งจะหายไป โดยขอแค่มีมาเลี้ยงตัว VPM-07-Series 1 เฟสก็เพียงพอ และจะมีคำสั่งภายนอกจาก External Trip ใช้ในกรณีที่ต้องการสั่งทริป Air Circuit Breakers (ACB) (Output1) แบบทันทีโดยไม่ต้องหน่วงเวลา      ข้อดีของลดวงจรรีเลย์เลือกเฟสโดยใช้อุปกรณ์เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน (Phase Selector with Protection Relay) ดังนี้      • ลดวงจร Timer สามารถ Set ได้ที่ตัวอุปกรณ์      • มี 2 Output สําหรับจ่ายไฟให้ Shunt Trip และต่อโหลดอื่น ๆ      • มีหน้าจอแสดงผลค่าแรงดันไฟฟ้าในตัว      • ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้ง      • ลดการ Wiring สายในตู้คอนโทรลที่มีความซับซ้อน, ลดเวลาในการผลิต      Phase Selector with Protection Relay (เฟสซีเล็คเตอร์พร้อมป้องกันไฟตก-ไฟเกิน) เหมาะสำหรับอุตสาหกรรมประเภทโรงงานผลิตตู้คอนโทรลสวิทช์บอร์ด      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน การต่อใช้งาน VPM-07-2 เพื่อสั่งทริป Air Circuit Breakers (ACB) ในตู้สวิทช์บอร์ด Phase Protection Relay Digital Voltage Protection Relay Digital Voltage Protection Relay Phase Selector อุปกรณ์ที่จ่ายไฟ 1 Phase 220VAC Ground Fault&Phase Protection Relay โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
V-Box มีหลักการทำงานและประโยชน์อย่างไรในการรับ-ส่งข้อมูลในภาคอุตสาหกรรม

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      V-BOX คือ อุปกรณ์รับและส่งข้อมูลจากอุปกรณ์คอนโทรล เช่น PLC, Remote-I/O, Power Meter เป็นต้น โดยผ่านการเชื่อมต่อกันด้วยโปรโตคอลมาตรฐาน (Modbus Protocol) อาทิ RS485, RS422 หรือ Ethernet และส่งข้อมูลไปยัง V-NET บน Cloud หรือผ่าน Internet หรือแม้กระทั้งส่งข้อมูลไปที่ Broker ต่าง ๆ ด้วย MQTT Protocol โดยการใช้ LUA Script ซึ่งสามารถเขียนลงใน V-BOX ได้ทันที      ยกตัวอย่าง V-BOX เชื่อมต่อกับอุปกรณ์คอนโทรล เช่น PLC, Remote-I/O, Power Meter ต่าง ๆ      หลักการของ V-BOX คือ สามารถนำข้อมูลจากอุปกรณ์คอนโทรล เช่น PLC, Remote-I/O, Power Meter เป็นต้น เข้าไปไว้บน Cloud อาทิ History Data, Alarm การสร้างการควบคุม, กราฟหรือการมอนิเตอร์ต่าง ๆ เป็นต้น โดยปัจจุบันระบบควบคุมอัตโนมัติในระดับอุตสาหกรรม การรับสัญญาณ (Input) จากอุปกรณ์ภาคสนามต่าง ๆ ที่เป็นค่ากระแสหรือแรงดันไฟฟ้า ค่าจากมิเตอร์หรือ Sensor ต่าง ๆ เช่น เทอร์มิสเตอร์, เทอร์โมคัปเปิล, RTD และเกจวัดต่างๆ เพื่อการติดตาม (Monitor) และนำค่าที่ได้ไปใช้ในการจัดการตัดสินใจ แล้วสั่งให้มีกระทำบางอย่างกลับมาโดยส่งสัญญาณออก (Output) เป็นค่ากระแสหรือแรงดันไฟฟ้าออกมา ซึ่งเป็นกระบวนการหรือวิธีมาตราฐานที่ใช้กันโดยทั่วไปในระบบอุตสาหกรรม ดังนั้นอุปกรณ์ V-BOX จึงเป็นสิ่งจำเป็นในงานภาคอุตสาหกรรมดังกล่าว      จากข้อมูลหลักการของ V-Box ดังกล่าว ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน V-Box ร่วมกับ Power Meter เพื่อ Monitor ดูค่าแสดงผลและเก็บบันทึกข้อมูล      ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน V-Box ร่วมกับ Power Meter เพื่อ Monitor ดูค่าแสดงผลและเก็บบันทึกข้อมูล      ข้อดีของการใช้งาน V-Box      • เข้าถึงข้อมูลได้จากทุกที่เพียงแค่มี Internet      • สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์คอนโทรล เช่น PLC, Remote-I/O, Power Meter ได้เกือบทุกยี่ห้อ และมากกว่า 300 รุ่น      • ไม่ต้องเขียน Code หลักการเหมือนเขียน HMI บน Cloud      • มีระบบการแจ้งเตือนผ่าน Line Application      • ประหยัดงบประมาณเนื่องจากไม่มีค่าบริการในการใช้ Cloud      • สามารถรองรับการทดสอบพร้อมกันหลายระบบได้      • สามารถย้ายระบบ (คอมพิวเตอร์เสมือน) ไปทดสอบบนระบบอื่นได้ง่าย      การประยุกต์ใช้งาน V-Box      • Smart Facility สำหรับดูระบบดิน น้ำ ลม ไฟ ในโรงงาน      • Smart Farm สำหรับทำโรงเห็ด โรงสัตว์      • Smart Machine สำหรับติดตั้งเครื่องจักรเพื่อให้เป็นหูเป็นตาให้ เช่น ถ้าหยุด ดับ หรือเสีย ให้ส่งการแจ้งเตือนผ่าน Line หรือส่งการแจ้งเตือนเมื่อถึงเวลาซ่อมบำรุง      • Smart Office เพื่อดูว่าลืมปิดแอร์หรือไม่      • Smart Factory สำหรับตัวนี้อาจไม่เหมาะที่จะดูระบบการผลิตใหญ่ แต่ดูได้ในภาพรวม โดยปกติระบบใหญ่ ๆ จะมีความซับซ้อนจำเป็นต้องใช้พวก Scada ซึ่งสามารถทำงานร่วมกันได้กับ V-box โดยผ่าน OPC หรือ HTTP      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน ใช้ในงานวัดและแจ้งเตือนอุณหภูมิในห้องเย็น ดูข้อมูลความชื้น/อุณหภูมิ ภายในโรงเรือน ดูข้อมูล Status ต่าง ๆ ของเครื่องจักร SINGLE PHASE kWh-METER WITH LORA Programmable Logic Controller PLC+HMI Wireless Humidity & Temperature Transmitter  Digital Counter & Target Counter MULTIFUNCTION POWER METER โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
4 ตัวอย่าง การประยุกต์ใช้งานของการใช้โปรแกรม Process Monitor Software ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      ปัจจุบันอุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing) มีการแข่งขันที่สูง ทำให้ธุรกิจต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการผลิตสินค้าจำเป็นที่จะต้องมีโซลูชั่นแบบบูรณาการที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ เพื่อลดค่าใช้จ่าย เพิ่มยอดขายและผลกำไร แต่ที่สำคัญที่สุดคือทำให้องค์กรมีความแม่นยำ การตัดสินใจอย่างมีข้อมูลและกลยุทธ์ ระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กรอาจเป็นคำตอบสำหรับความต้องการเหล่านี้ทั้งหมด จึงได้มีการนำเอาเทคโนโลยีด้านโปรแกรม (Software) มาใช้ในการจัดการบริหารทรัพยากรทางด้านการผลิตเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน โดยทางผู้บรรยายขอยกตัวอย่าง Process Monitor Software        Process Monitor Software เป็นโปรแกรมบริหารจัดการด้านกระบวนการผลิตและการเก็บ, วิเคราะห์ข้อมูลพารามิเตอร์ต่าง ๆ ในงานด้านอุตสาหกรรม อาทิ อุณหภูมิ (Temperature), ความชื้น (Humidity), สัญญาณทางไฟฟ้า (Analog 4-20mA, 0-10V) ที่ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถบริหารและวางแผนการใช้ระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย Process Monitor Software สามารถแสดงผลและบันทึกค่าสัญญาณทางไฟฟ้าหรือค่าอุณหภูมิและความชื้นได้ดังนี้ Thermocouple, RTD (PT100), Current Analog (0-20mA, 4-20mA), Voltage Analog (0-75mV, 0-150mV, 0-1VDC, 0-5VDC, 0-10VDC, +/- 0-75mVDC, +- 0-150mVDC, +/- 0-1VDC, +/- 0-5VDC, +/- 0-10VDC) หรือค่าอื่น ๆ เป็นต้น        โดย Process Monitor Software หรือ Software Web Server Monitoring System สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์บน TCP/IP, RS485, RS232 และ LoraWan ได้ โดยจะทำหน้าที่อ่านค่าตัวแปรที่ผู้ใช้ต้องการผ่านระบบสื่อสารและนำมาเก็บข้อมูลใน Database บนเครื่อง PC และนำข้อมูลไปแสดงผลยังหน้า Webpage โดย Protocol ที่ Process Monitor Software สามารถรองรับการใช้งานได้ดังนี้      • MODBUS RTU Mode บนระบบ RS485      • MODBUS TCP      • LoRaWAN 1.0 โดยใช้งานร่วมกัน Femto Gateway Gemtek และอุปกรณ์ LoRa Node ของ บริษัท ไพรมัส จำกัด        ยกตัวอย่างการเก็บข้อมูลพารามิเตอร์ต่าง ๆ และการแสดงผลผ่าน Software Web Server Monitoring System ได้ดังนี้        ตัวอย่างการเก็บข้อมูลพารามิเตอร์ต่าง ๆ และการแสดงผลผ่าน  Software Web Server Monitoring System        จากข้อมูลข้างต้นดังกล่าว ทำให้ผู้อ่านได้ทราบถึงคุณสมบัติเบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Process Monitor Software หรือการใช้ซอฟต์แวร์ในการตรวจสอบภายในกระบวนการเพื่อการบริหารจัดการด้านการเก็บข้อมูลอุณหภูมิ (Temperature), ความชื้น (Humidity), สัญญาณทางไฟฟ้า (Analog 4-20mA, 0-10V) เป็นต้น และเพื่อให้ผู้อ่านได้นำมาประยุกต์ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทางผู้บรรยายจึงขอยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานของ Process Monitor Software หรือ Software Web Server Monitoring System โดยสรุปมาเป็น 4 ตัวอย่าง ดังนี้        ตัวอย่างที่ 1 : การใช้โปรแกรม Process Monitor Software ร่วมกับ Digital Counter "Primus" รุ่น CMT-007AN-A-M-220 (RS-485) ในการ Monitor และบันทึกค่าการนับจำนวนสินค้าใน Line การผลิต        ตัวอย่างที่ 2 : การใช้โปรแกรม Process Monitor Software ร่วมกับ 4 Channel Digital Indicator "Primus" รุ่น TIM-94N-4CH-A-M-220 (RS-485) ในการ Monitor และบันทึกค่าอุณหภูมิในห้อง Clean Room        ตัวอย่างที่ 3 : การใช้โปรแกรม Process Monitor Software ร่วมกับ Load Cell Digital Indicator รุ่น CM-013N-M (RS-485) ในการ Monitor และบันทึกค่าน้ำหนัก        ตัวอย่างที่ 4 : การใช้โปรแกรม Process Monitor Software ร่วมกับ Temperature Controller รุ่น TTM-009W-I-AX ในการ Monitor และบันทึกค่า        ดังนั้นจากตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานของ Process Monitor Software หรือ Software Web Server Monitoring System ร่วมกับอุปกณ์หรือเครื่องจักรต่าง ๆ ในงานภาคอุตสาหกรรมใน 4 หัวข้อดังกล่าวนั้น จึงสามารถบอกถึงข้อดีของการใช้โปรแกรม Process Monitor Software หรือ Software Web Server Monitoring System ได้ดังนี้      1. สามารถดูข้อมูลผ่าน Monitor ได้แบบ Real Time และได้รับการแจ้งเตือนที่รวดเร็วขึ้น      2. สามารถดูข้อมูลย้อนหลังด้วยกราฟ จากกลุ่ม Tag ที่ผู้ใช้งานสามารถกำหนดเองได้ และยังสามารถ Export ข้อมูลเป็น Excel      3. การลด Downtime      4. ลดต้นทุนในการ Wiring สาย      5. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน      6. เข้าถึงข้อมูลและปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงานได้ทันทีจากการแจ้งเตือนผ่าน Line Notify        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   Clean Room แท่นชั่งน้ำหนัก ไลน์ผลิตกระป๋อง Phase Protection Relay Digital Voltage Protection Relay Digital Voltage Protection Relay Electronics Overload Relay Compact Soft Start And Soft Stop Motor โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
แนะนำวิธีเลือกใช้หน้าจอแสดงผลเซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      โหลดเซลล์ (Load Cell) คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้หลักการเปลี่ยนแปลงของแรงทางกล เช่น แรงกด (Compression), แรงดึง (Force) หรือน้ำหนัก (Weight) ให้เปลี่ยนแปลงออกมาในรูปแบบของสัญญาณทางไฟฟ้า (mV/V) โดยนำมาต่อใช้งานร่วมกับเครื่องแสดงผลโหลดเซลล์ หรือหน้าจอแสดงผลเซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก ในการแสดงค่าน้ำหนักของโหลดเซลล์ (Load Cell) เช่น การนำไปใช้ในการชั่งน้ำหนักส่วนผสมวัตถุดิบ (Mixing) ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง, การวัดค่าแรงดึง (Force) หรือแรงกด (Compression) หรือน้ำหนัก (Weight) ในกระบวนการผลิตสินค้า, การชั่งน้ำหนักของชิ้นส่วนอุตสาหกรรมยานยนต์ หรือการชั่งน้ำหนักของรถบรรทุก เป็นต้น        โหลดเซลล์ (Load Cell) ที่ผู้อ่านสามารถพบเห็นในงานอุตสาหกรรมสามารถยกตัวอย่างได้ดังนี้   Load Cell Type : S Beam Load Cell Type : Single Point Load Cell Type :  Bending Beam Load Cell Type : Pancake        จากตัวอย่างโหลดเซลล์ (Load Cell) ในการพิจารณาเลือกหน้าจอแสดงผลการชั่งวัดของโหลดเซลล์ (Load Cell) ก็เป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้การชั่งวัดมีความสอดคล้องและแสดงผลได้อย่างแม่นยำ โดยจะมีวิธีเลือกใช้หน้าจอแสดงผลเซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) อย่างไร ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกับหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์ หรือเซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) กันก่อน ดังนี้        หน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) คือ อุปกรณ์วัดและแสดงผลค่าสัญญาณแรงดันไฟฟ้า ที่ออกแบบมาให้สามารถวัดค่าแรงดันไฟฟ้าขนาดไมโครโวลต์ (Micro Volt) และมิลลิโวลต์ (mV) โดยเป็นการรับสัญญาณจากเซ็นเซอร์ประเภท Transducer Strain Gauge Sensor หรือ Load Cell Sensor เป็นต้น   Digital Load Cell Indicator ยี่ห้อ Primus รุ่น CM-013N ภาพวงจรการต่อใช้งาน      การพิจารณาเลือกหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) มีปัจจัยสำคัญดังนี้      1. Rate Signal mV/V Output ของโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell)          ผู้ใช้ต้องทราบขนาดของ Rated Output Signal (mV/V) ของโหลดเซลล์ (Load Cell) ที่ต้องการต่อเข้ากับหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) ซึ่งในข้อมูลทางเทคนิคของโหลดเซลล์ (Load Cell) จะมีระบุ เช่น 1.5 mV/V, 2 mV/V, 2.5 mV/V, 3 mV/V, 3.3 mV/V by Excite Voltage 5V หรือ 10V ซึ่งโหลดเซลล์ (Load Cell) ที่มีค่า Rated Output Signal (mV/V) สูง จะยิ่งสามารถแสดงค่าได้ละเอียดมากขึ้น ดังนั้นหากผู้ใช้ทราบข้อมูล Rated Output Signal (mV/V) ของโหลดเซลล์ (Load Cell) เราก็จะสามารถเลือกหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) ให้ตรงกับ Spec ที่ต้องการได้ ยกตัวอย่างหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) รุ่น CM-013N ยี่ห้อ “PRIMUS”        ตัวอย่าง Rate Signal mV/V ที่รองรับสัญญาณจากโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell) ตารางตัวอย่าง Rate Signal mV/V ของหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) รุ่น CM-013N ยี่ห้อ “PRIMUS”        ตัวอย่าง Rate Signal mV/V Output ของโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell) ตัวอย่าง Rate Signal mV/V ของโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell) รุ่น SP8-Series ยี่ห้อ “TUNA”        2. จำนวน Load Cell สูงสุดที่สามารถรับได้          ต้องทราบจำนวน Load Cell สูงสุดที่สามารถต่อเข้ากับหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) เนื่องจากหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) สามารถรองรับ Load Cell ได้เพียงแค่ 1 ตัว ซึ่งกรณีที่ต้องการต่อ Load Cell หลาย ๆ ตัว ขนานกันเพื่อแบ่งน้ำหนักกัน ก็จะทำให้ไม่สามารถต่อใช้งานได้ ในการต่อ Load Cell มากกว่า 1 ตัว จะนิยมใช้ตัว Junctions Box เพื่อเป็นตัวรวมสัญญาณก่อนเข้าหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator)        ตัวอย่าง Junctions Box        3. Power Supply ของหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator)          เนื่องจากผู้ใช้ต้องทราบแรงดันไฟฟ้า Power Supply เพื่อเลือกหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) ให้เหมาะสมกับการใช้งานและสะดวกในการซ่อมบำรุง        ตัวอย่าง Power Supply ของหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) ตารางตัวอย่าง Power Supply ของหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) รุ่น CM-013N ยี่ห้อ “PRIMUS”        4. สัญญาณเอาต์พุต          สัญญาณเอาต์พุตของหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) นั้น โดยปกติจะเลือกใช้งานหรือไม่ก็ได้ขึ้นอยู่กับความจำเป็นในการใช้งาน เช่น นำสัญญาณไป 4-20mA ไปจ่ายสัญญาณ Input ต่อ Invertor หรือการเลือกสัญญาณเอาต์พุตเป็นแบบ RS-485 เพื่อให้ส่งสัญญาณได้ไกล และใช้ Protocol MODBUS ในการสื่อสารข้อมูล เป็นต้น ซึ่งสามารถยกตัวอย่างชนิดของเอาต์พุตดังนี้        ตัวอย่างสัญญาณเอาต์พุตหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) ตารางตัวอย่างสัญญาณเอาต์พุต (Output) หน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) รุ่น CM-013N ยี่ห้อ “PRIMUS”        5. ระดับการป้องมาตรฐาน IP          มาตรฐานการป้องกันฝุ่นและน้ำ IP ในการเลือกใช้งานหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) โดยส่วนใหญ่จะต้องถูกติดตั้งในบริเวณที่ต้องการชั่งน้ำหนัก ซึ่งจะมีปัญหาเรื่องฝุ่น ดังนั้นควรเลือกหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) ที่มีการปิดมิดชิด โดยมี IP สูง ๆ        ตัวอย่างระดับการป้องมาตรฐาน IP ของหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) ตารางตัวอย่างระดับการป้องมาตรฐาน IP ของหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) รุ่น CM-013N ยี่ห้อ “PRIMUS”        6. การทนต่อแรงสั่นสะเทือน          หลาย ๆ ครั้งที่ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากสายหลุดหรือน็อตคลายตัวจากแรงสั่นสะเทือนของมอเตอร์หรือสายพานลำเลียง ดังนั้นจุดเชื่อมต่อสายไฟต่าง ๆ ถ้าใช้เป็นแบบ Terminal Spring ก็จะช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ได้        จากปัจจัยในการพิจารณาเลือกหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) ดังกล่าว ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานการต่อใช้งานหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) ร่วมกับ Load Cell Sensor จำนวน 4 ตัว ดังนี้        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานการต่อใช้งานหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) ร่วมกับ Load Cell Sensor จำนวน 4 ตัว ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานการต่อใช้งานหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) ร่วมกับ Load Cell Sensor จำนวน 4 ตัว ผ่าน Junctions Box        สรุปข้อดีของการประยุกต์ใช้งานหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator)      • ใช้งานได้ง่าย ความละเอียดในการชั่งน้ำหนักสูง      • Calibration ได้ 2 แบบ Calibration by Load สามารถ Cal ได้ 2-8 จุด / Calibration by Key mV ได้ 2 จุด      • มี Option ให้เลือกใช้งาน เช่น Analog Transfer Output มาตรฐาน 4-20mA, 0-10V และ RS-485 MODBUS RTU Protocol        การประยุกต์ใช้งานหน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator)      • เครื่องชั่งน้ำหนักหรือเครื่องแสดงค่าน้ำหนัก      • ชุดทดสอบอุปกรณ์ แรงดึง/แรงกด      • อุตสาหกรรมการผลิตอาหาร      • อุตสาหกรรมพลาสติก      • อุตสาหกรรมยาง, โพลิเมอร์, ยางไฟเบอร์ ฯลฯ        สรุปในบทความนี้ทางผู้บรรยายได้อธิบายถึงปัจจัยการเลือกใช้หน้าจอแสดงผลโหลดเซลล์/เซ็นเซอร์ชั่งน้ำหนัก (Load Cell Indicator) ไปใช้งานให้เหมาะสมนั้น ควรต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ เช่น สัญญาณเอาต์พุต (Output Signal), สัญญาณอินพุต (External Input), จำนวน Load Cell สูงสุด, ไฟเลี้ยง, ขนาดในการติดตั้ง, มาตรฐาน IP รวมถึงการทนต่อแรงสั่นสะเทือน เป็นต้น และท่านผู้อ่านสามารถทราบวิธีการการต่อสายโหลดเซลล์ (Load Cell) แบบ 4 สาย และ 6 สาย ในบทความที่ผ่านมาในหัวข้อ “การต่อสายโหลดเซลล์ (Load Cell) แบบ 4 สาย และ 6 สาย”        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   ชุดทดสอบแรงกด ลูกถ้วนไฟฟ้า บรรจุของเหลวลงถัง ชุดทดสอบแรงดึง Digital Indicator,Universal Input Digital Indicator With Alarm Unit Digital Load Cell Transmitter Digital Target Counter With RS485 Load cell Bar Graph Indicator With Alarm Unit โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
ประโยชน์ของการใช้เครื่องควบคุมปั๊มน้ำ 2 ตัว (Twin Pump Controller) มีอะไรบ้าง?

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      เครื่องควบคุมปั๊มน้ำหรือปั๊มคอนโทรล (Pump Control) เป็นอุปกรณ์ควบคุมปั๊มน้ำให้ทำงานสัมพันธ์กันระหว่างระดับของบ่อพักน้ำ (Water Well) และถังเก็บน้ำ (Water Tank) สามารถใช้ได้ทั้งระบบไฟ 1-Phase และ 3-Phase โดยมีหน้าที่ควบคุมการทำงานของปั๊มน้ำ (Water Pump) ให้เป็นแบบอัตโนมัติ เช่น สั่งให้ปั๊มหยุดขณะปิดวาล์วหรือสั่งปั๊มหยุดการทำงานในขณะน้ำขาดหรือแรงดันต่ำ เพื่อป้องกันไม่ให้ปั๊มน้ำเสียหายหรือปั๊มน้ำไหม้เกิดขึ้น ซึ่งเครื่องควบคุมปั๊มน้ำ (Pump Control) โดยทั่วไปจะใช้เซ็นเซอร์วัดระดับน้ำ (Level Sensor) ประเภทต่าง ๆในการติดตั้ง เช่น ติดตั้งโดยการใช้สวิตช์ลูกลอยตรวจจับระดับของเหลว (Level Switch), อุปกรณ์วัดระดับแบบก้านอีเล็กโทรด (Electrode Level Switch), สวิตช์ควบคุมแรงดัน (Pressure Switch) เป็นต้น โดยเครื่องควบคุมปั๊มน้ำหรือปั๊มคอนโทรล (Pump Control) มีรูปแบบต่าง ๆ ดังนี้      เครื่องควบคุมปั๊มน้ำหรือปั๊มคอนโทรล (Pump Control) มีทั้งรุ่นการติดตั้งแบบยึดราง DIN Rail และแบบดิจิตอลติดหน้าตู้ (Panel) ดังนี้ เครื่องควบคุมปั๊มน้ำแบบ DIN Rail (Pump Relay) เครื่องควบคุมปั๊มน้ำแบบ Panel (Digital Pump Controller) PM-021N-2/PM-021N-3 CM-015-2/CM-015-2-3-E      เครื่องควบคุมปั๊มน้ำหรือปั๊มคอนโทรล (Pump Control) สามารถแบ่งออกหลัก ๆ เป็น 3 ประเภทตามการใช้งาน ในระบบไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส ดังนี้      • Booster Pump คือ การรักษาแรงดันภายในระบบให้มีความคงที่สม่ำเสมอ โดยอาศัยการทำงานของ Pressure Switch เป็นตัวตัดต่อการทำงานระบบ Booster Pump ที่นิยมกันจะเป็นแบบทำงานสลับและเสริมช่วยอีกตัวเพื่อใช้ปรับตั้งแรงดันตามความต้องการ ประกอบด้วยปั๊มน้ำจำนวน 2 ตัว สลับการทำงานและเสริมช่วยการทำงาน      • Transfer Pump คือ รับ-ส่งน้ำจากต้นทางไปยังปลายทาง หรือจากบ่อด้านล่างส่งไปบ่อด้านบน นิยมใช้กันมากในอะพาร์ตเมนต์ แมนชั่น หรืออาคารตึกสูง คอนโดฯ ประกอบด้วยปั๊มน้ำจำนวน 2 ตัว สลับการทำงานและเสริมช่วยการทำงาน ในกรณีที่มีการใช้น้ำมากเกินไปจะต้องมีปั๊มอีกตัวเพื่อช่วยกันทำงานหากปั๊มตัวที่หนึ่งทำงานไม่ทัน      • Drain Water Pump คือ เป็นการทำงานโดยจะวัดระดับน้ำเสียในบ่อเก็บ โดยส่วนใหญ่จะใช้ลูกลอยแบบสายไฟเนื่องจากน้ำมีความสกปรกมากไม่เหมาะกับก้านอิเล็กโทรด เช่น ในภาคอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะมีสิ่งปฏิกูลหรือน้ำเสียเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตซึ่งจะต้องใช้ตัวปั๊มในการดูดน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดแล้วทิ้งออกได้      จากบทความที่ผ่านมาที่ผู้บรรยายได้นำเสนอในหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้      • เครื่องควบคุมปั๊มน้ำแบบ DIN Rail (Pump Relay) กับแบบ Panel (Digital Pump Controller) แตกต่างกันอย่างไร?      • ควบคุมปั๊มน้ำ 1 ตัว ด้วย Single Pump Relay กับ Level Control for Conductive Liquid ต่างกันอย่างไร?      • การควบคุมปั๊มน้ำ (Water Pump) แบบ Transfer Pump กับ Booster Pump ต่างกันอย่างไร?      ซึ่งได้กล่าวถึงหลักการทำงานและการประยุกต์ใช้งาน ทำให้ผู้อ่านสามารถพิจารณาเลือกใช้งานของเครื่องควบคุมปั๊มน้ำหรือปั๊มคอนโทรล (Pump Control) ได้อย่างเหมาะสม และในวันนี้ผู้บรรยายจะมากล่าวถึงประโยชน์ของเครื่องควบคุมปั๊มน้ำ 2 ตัว (Twin Pump Controller) ในหัวข้อ "ประโยชน์ของการใช้เครื่องควบคุมปั๊มน้ำ 2 ตัว (Twin Pump Controller) มีอะไรบ้าง?" โดยยกตัวอย่างตามตาราง      ประโยชน์ของการใช้เครื่องควบคุมปั๊มน้ำ 2 ตัว (Twin Pump Controller) ของแต่ละรุ่นดังนี้ เครื่องควบคุมปั๊มน้ำ (Pump Relay) แบบ DIN Rail Twin Pump) ยี่ห้อ Primus เครื่องควบคุมปั๊มน้ำ (Pump Relay) แบบ Panel (Digital Pump Controller) (Twin Pump) ยี่ห้อ Primus Model : PM-021N-3 Model : CM-015-2/CM-015-2-3-E • มี Function ในตัวเดียวกันหลากหลาย โดยไม่ต้องจัดหาอุปกรณ์อื่นเพิ่ม • ลดอุปกรณ์ภายในตู้ควบคุมปั๊มน้ำ (Water Pump Control) ที่เดิมจะต้องใช้อุปกรณ์ต่อร่วมกันหลายตัวเพื่อวัดค่าในแต่ละส่วน • แสดงผลการทำงานและความผิดปกติผ่าน LED (ไม่มีหน้าจอแสดงผล) • ลดการ Wiring สายไฟ ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งและประหยัดค่าใช้จ่าย • การ Wiring สายไม่ยุ่งยาก และตรวจสอบหรือซ่อมบำรุงได้ง่าย • รองรับการใช้งานได้กับระบบไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส • สามารถทราบระดับน้ำภายในบ่อพักน้ำ (Water Well) และถังเก็บน้ำสำหรับใช้งาน (Water Tank) ขณะทำงานได้ • ใช้กับ Level Sensor ประเภท Electrode/Float Cable Switch/Pressure Switch • สามารถควบคุมและเช็คระดับน้ำอยู่ในตัวเดียวกัน ทั้งถังพักน้ำด้านล่างและถังเก็บน้ำด้านบนดาดฟ้า • มี Function ในตัวเดียวกันหลากหลาย โดยไม่ต้องจัดหาอุปกรณ์อื่นเพิ่ม • ลดอุปกรณ์ภายในตู้ควบคุมปั๊มน้ำ (Water Pump Control) ที่เดิมจะต้องใช้อุปกรณ์ต่อร่วมกันหลายตัวเพื่อวัดค่าในแต่ละส่วน • แสดงผลการทำงานด้วยหน้าจอแบบ LCD มองเห็นได้ชัดเจน • ลดการ Wiring สายไฟ ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งและประหยัดค่าใช้จ่าย • การ Wiring สายไม่ยุ่งยาก และตรวจสอบหรือซ่อมบำรุงได้ง่าย • รองรับการใช้งานกับระบบไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส (CM-015-2) • รองรับการใช้งานกับระบบไฟฟ้า 3 เฟสเท่านั้น (CM-015-2-3-E) ​• สามารถทราบระดับน้ำภายในบ่อพักน้ำ (Water Well) และถังเก็บน้ำสำหรับใช้งาน (Water Tank) ขณะทำงานได้ • ใช้กับ Level Sensor ประเภท Electrode/Float Cable Switch/Pressure Switch • สามารถควบคุมและเช็คระดับน้ำอยู่ในตัวเดียวกัน ทั้งถังพักน้ำด้านล่างและถังเก็บน้ำด้านบนดาดฟ้า      จากตารางข้อมูลข้างต้น ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานเครื่องควบคุมปั๊มน้ำ 2 ตัว (Twin Pump Controller) รุ่น PM-021N-3 ร่วมกับ Electrode เพื่อควบคุมปั๊มน้ำ 2 ตัวในอาคาร      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานเครื่องควบคุมปั๊มน้ำ 2 ตัว (Twin Pump) รุ่น PM-021N-3 ร่วมกับ Electrode เพื่อควบคุมปั๊มน้ำ 2 ตัวในอาคาร      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานเครื่องควบคุมปั๊มน้ำ 2 ตัว (Twin Pump) รุ่น CM-015-2/CM-015-2-3-E ร่วมกับ Electrode เพื่อควบคุมปั๊มน้ำ 2 ตัวในอาคาร      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน Booster Pump Transfer Pump ตู้ควบคุมปั๊มน้ำ (Pump Control Cabinet) Level Switch เซ็นเซอร์ตรวจจับระดับของเหลว Cable Float Switch สวิตช์ลูกลอย Dry Run Load Protection Relay Pressure Transmitter Single jet wet dial pre-equipped for inductive modules โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
การวางแผนและควบคุมการผลิตด้วย OEE และป้ายแสดงผลสินค้า (Target Counter & Big Display) สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      ปัจจุบันได้มีการพัฒนาโซลูชั่นการวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรหรือประสิทธิภาพในการบำรุงรักษาเครื่องจักร รวมถึงความสามารถของผู้ปฎิบัติงานและการบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ด้วยระบบ OEE (Overall Equipment Effectiveness) ที่ช่วยให้การเก็บข้อมูลการทำงานเป็นเรื่องง่ายและสามารถบริหารข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ        ระบบ OEE ย่อมาจาก (Overall Equipment Effectiveness) กล่าวคือ การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร คือวิธีการคำนวณความสามารถในการทำงานทั้งหมดของเครื่องจักรภายในโรงงานโดยอ้างอิงจากปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและสรุปออกมาเป็นตัวเลข โดยในบทความที่ผ่านมาผู้บรรยายได้กล่าวถึงประโยชน์ของการนำระบบ OEE มาประยุกต์สำหรับงานอุตสาหกรรม ในหัวข้อ OEE (Overall Equipment Effectiveness) ไว้ในหัวข้อ “OEE (Overall Equipment Effectiveness) มีประโยชน์อย่างไรต่ออุตสาหกรรมการผลิต?” ซึ่ง OEE (Overall Equipment Effectiveness) ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยในการติดตามตรวจสอบและวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น มี Report พร้อมทั้งเก็บข้อมูลเรียกดูย้อนหลังได้ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และยังสามารถรู้ถึงสาเหตุของความสูญเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการ คือ สามารถแยกประเภทการสูญเสียและรายละเอียดของสาเหตุนั้น ทำให้สามารถที่จะปรับปรุงลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้องและเป็นระบบ สามารถแจ้งเตือนผู้ปฏิบัติงานทันทีเมื่อมีปัญหา ทำให้รู้เร็ว ผลิตได้เร็ว ลดการสูญเสีย เพิ่มผลผลิต แสดงผล Real Time ผ่านระบบ Online ต่าง ๆ โดย OEE (Overall Equipment Effectiveness) ดังตัวอย่าง   การเก็บข้อมูลสามารถ Export ออกมาเป็น Report ได้ เช่น OEE Report รายงานการหยุดทำงานและรายงานคุณภาพ การแสดงประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องจักรด้วยบอร์ดแสดงผล (OEE) Overall Equipment Effectiveness        โดยนัยสำคัญของเครื่องจักรที่ดีไม่ใช่เป็นเพียงแค่เครื่องจักรที่ไม่เสีย เปิดสวิตช์เมื่อใดทำงานได้เมื่อนั้น หากแต่ต้องเป็นเครื่องจักรที่เปิดขึ้นมาแล้วทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ คือเดินเครื่องได้เต็มกำลังความสามารถ แต่ถ้าเครื่องจักรใช้งานได้ตลอดเวลาและเดินเครื่องได้เต็มกำลังแต่ชิ้นงานที่ผลิตออกมาไม่มีคุณภาพก็คงไม่มีประโยชน์อะไร ดังนั้นเรื่องคุณภาพของงานที่ออกมาจึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จะใช้ในการพิจารณาเครื่องจักร และที่สำคัญเครื่องจักรที่ดีต้องใช้งานได้อย่างปลอดภัย นอกจากนี้ปัจจัยหลัก ๆ ที่จะทำให้การเก็บข้อมูลหรือการ Monitor มีประสิทธิภาพ คือ อุปกรณ์ในการ Monitor และเก็บข้อมูล โดยผู้บรรยายสามารถยกตัวอย่างได้ดังนี้        Target Board, Target Counter หรือ ป้ายแสดงสถานะในการผลิต เครื่องแสดงผลการนับจำนวนแบบดิจิตอล ช่วยวางแผนการผลิตในงานอุตสาหกรรม ทั้งในเรื่องของขั้นตอนการผลิต วิธีการการผลิตหรือการควบคุมการผลิต เป็นต้น ทำให้เกิดประสิทธิภาพในกระบวนการการผลิต ลดการสูญเสียผลผลิตที่เกิดขึ้น โดยสามารถแจ้งเตือนผู้ปฏิบัติงานในสายการผลิต (Line Production) หรือผู้วางแผนการผลิต (Production Planner) แบบ Real Time ด้วยการแสดงผลที่เป็นอักษร สัญลักษณ์ ตัวเลข เป็นต้น เหมาะสำหรับงานการผลิตในอุตสาหกรรมแสดงผลแบบ Real Time ใช้แสดงผลควบคุมการผลิตให้เป็นไปตามเป้าหมาย ลดความผิดพลาดหรือใช้ตรวจสอบสถานะการทำงานของเครื่องจักร การนับจำนวนของเข้า Stock โดยสามารถตั้งค่าผ่าน Computer และ Remote ได้ สามารถทํางานได้ทั้งนับขึ้นและนับลง รับอินพุตจากอุปกรณ์เซ็นเซอร์ต่าง ๆ เช่น Proximity Switch, Encoder, Mechanical Contact, NPN, PNP เป็นต้น        โดยผู้บรรยายขอยกตัวอย่าง Target Board, Target Counter หรือ ป้ายแสดงสถานะในการผลิต รุ่น TGA-Series และ TGM-Series ยี่ห้อ Primus ดังนี้   การตั้งเป้าหมายในการผลิต โดยมีกำหนดชื่อโมเดลสินค้า ในสายการผลิต (Line Production)      การตั้งเป้าหมายในการผลิต ที่มีค่าเพิ่มขึ้นตามเวลา และมีค่าเปอร์เซ็นต์โชว์ TARGET : กำหนดเป้าหมายในการผลิตจำนวน 10,000 ชิ้น ACTUAL : จำนวนที่ผลิตได้จริง 10,000 ชิ้น DIFF : ผลต่างของการผลิต (TARGET - ACTUAL) = 0 ชิ้น (100%) สรุป : การผลิตสินค้า Lot นี้ ได้ทั้งหมด 100% เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ PLAN : กำหนดเป้าหมายในการผลิตจำนวน 1 ชิ้น : ภายในเวลาที่กำหนด (TIME) ACTUAL : จำนวนที่ผลิตได้จริง 1ชิ้น ตามเวลาที่กำหนด DIFF : ผลต่างของการผลิต (PLAN - ACTUAL) = 100% (ภายในเวลาที่กำหนด) สรุป : การผลิตสินค้า Lot นี้ ได้ทั้งหมด 100% ภายในเวลาที่กำหนด เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้        ยกตัวอย่าง Big Display Digital Counter หรือ เครื่องนับจำนวนแบบดิจิตอล 1 แถว รุ่น CMT-007B ยี่ห้อ Primus ดังนี้   Big Display Digital Counter 1 แถว รุ่น CMT-007B ขนาด Dimension CMT-007B      Big Display Digital Counter หรือ เครื่องนับจำนวนแบบดิจิตอล 1 แถว สําหรับงานผลิตในงานอุตสาหกรรม แสดงผลด้วย 7-Segment แบบ Real Time ใช้เพื่อควบคุมการผลิตให้เป็นไปตามเป้าหมาย ลดความผิดพลาดหรือใช้ตรวจสอบสถานะการทํางานของเครื่องจักรนับจํานวนของเข้า Stock สามารถทํางานได้ทั้งนับขึ้นและนับลง รับอินพุตจากอุปกรณ์เซ็นเซอร์ต่าง ๆ เช่น Proximity Switch, Encoder, Mechanical Contact, NPN, PNP สามารถรับอินพุตได้เร็วถึง 10kHz มีโหมดการทํางานให้เลือก 11 โหมด สามารถกดปุ่ม Shotcut โดยการกดปุ่ม F เพื่อตั้งค่า Set Point, กดปุ่ม Down เพื่อแสดงค่า Total, กดปุ่ม Up เพื่อ Reset ค่า Count และเก็บบันทึกค่าการนับด้วย FRAM สามารถ Link กับ Computer หรือ PLC ได้ทาง RS485 และสามารถ Monitor, Logging, Edit ค่าได้      สำหรับการคำนวณ OEE ทางผู้ประกอบการจำเป็นต้องแยก Factor ย่อย ๆ ของ OEE ออกมาก่อน แล้วจึงนำไปเข้าสูตรการคำนวณ OEE โดยมีรายละเอียดดังนี้   OEE (Overall Equipment Effectiveness) %   OEE (Overall Equipment Effectiveness) มีค่าสูง OEE % = Availability % x Performance % x Quality %   OEE มีค่าสูง = ต้นทุนการผลิตต่ำ      จากสูตรการคำนวณดังกล่าว โดยผู้บรรยายได้ยกตัวอย่างในบทความที่ผ่านมาในหัวข้อ “OEE (Overall Equipment Effectiveness) มีประโยชน์อย่างไรต่ออุตสาหกรรมการผลิต?” ดังนั้น ในวันนี้ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน Target Board, Target Counter หรือ ป้ายแสดงสถานะในการผลิต รุ่น TGA-Series และ TGM-Series ยี่ห้อ Primus ร่วมกับ OEE (Overall Equipment Effectiveness) ดังนี้      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน Target Board, Target Counter หรือ ป้ายแสดงสถานะในการผลิต รุ่น TGA-Series และ TGM-Series ยี่ห้อ Primus ร่วมกับ OEE (Overall Equipment Effectiveness)        จากภาพเป็นการแสดงค่าการคำนวณ OEE แบบ Real Time เพื่อตรวจสอบและวัดประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักรว่ามีสาเหตุอะไรถึงทำให้ค่าประสิทธิภาพของเครื่องจักรต่ำ Availability% , Performance% , Quality% เพื่อที่จะแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที        ข้อดีของการประยุกต์ใช้ OEE (Overall Equipment Effectiveness) ในอุตสาหกรรมการผลิต ดังนี้      • สามารถรวบรวมข้อมูลการควบคุมเครื่องจักรของพื้นที่การผลิตทั้งหมด ส่งผลให้มีแผนการ Maintenance ที่ชัดเจน ไม่ส่งผลกระทบกับการผลิตสินค้า      • พนักงานทราบข้อมูลในการผลิตที่ชัดเจน เช่น Plan, Actual, Diff, Eff (%), Time, Master Plan เป็นต้น      • พนักงานทราบสถานะการทำงานของเครื่องจักร (ความผิดปกติต่าง ๆ Downtime Breaktime Changeover) และค่า OEE รวมถึงสถานะการสั่งงาน การติดตามคุณภาพ และสาเหตุการหยุดทำงานได้แบบ Real Time      • ข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการผลิตจะถูกเก็บไว้ใน Computer Server สามาถเรียกดูได้ไม่สูญหาย      • สามารถ Export ออกมาเป็น Report ได้ เช่น OEE Report รายงานการหยุดทำงานและรายงานคุณภาพ      • วิเคราะห์และวางแผนเพื่อเพิ่มความสามารถในการปรับปรุงประสิทธิภาพ ระบุปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีการวัดผลของการปรับปรุงกระบวนการ      • สามารถดูข้อมูลต่าง ๆ ผ่านระบบออนไลน์ได้ โดยผ่านอุปกรณ์เสริม V-BOX        นอกจากจะมีข้อดีแล้ว ยังมีข้อที่ควรระวังในการใช้ระบบ OEE (Overall Equipment Effectiveness) ดังนี้      • ควรมีการเก็บข้อมูลที่ครบถ้วน แม่นยำ      • ทุกการคำนวณในโรงงานอุตสาหกรรมจะต้องมีการจดบันทึกที่ครบถ้วน ถูกต้อง หากขาดตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งจะทำให้ข้อมูลในการคำนวณน้อยเกินไป ทำให้ผลการคำนวณออกมาไม่ตรงกับความเป็นจริง เกิดผลเสียในระยะยาว      • หน่วยการคำนวณต้องเหมือนกัน หากข้อใดข้อหนึ่งใช้ตัวแปรด้านเวลาเป็นหน่วยชั่วโมง ตัวแปรด้านเวลาของข้อที่เหลือจำเป็นต้องใช้หน่วยชั่วโมงเช่นกัน หากเป็นนาทีก็ต้องเปลี่ยนให้เป็นนาทีเหมือนกัน ไม่เช่นนั้นข้อมูลที่คำนวณได้จะผิดเพี้ยน      • สำหรับการทำงานจริงแล้ว นอกจากการคำนวณด้วยบุคคล การใช้เครื่องมือประเภท IoT ในการเก็บข้อมูลการทำงาน ก่อนทำผ่านการประมวลผลด้วยโปรแกรมคำนวณค่าสำหรับโรงงาน อาจจะเป็นวิธีที่ดีกว่า ง่ายกว่า ลดความผิดพลาดได้มากกว่า เหมาะสำหรับการทำงานในระยะยาวเป็นอย่างยิ่ง        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   ผลิตนมกล่อง ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ผลิตขวดพลาสติก Universal Input Digital Indicator With Alarm Unit Bar Graph Indicator With Alarm Unit  Digital Temperature Indicator Digital Indicator Signal Tower Light โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
ลดขั้นตอนการจดค่าน้ำและค่าไฟด้วย LoRa Meter (มิเตอร์แบบไร้สาย) และ Water Meter (มิเตอร์น้ำ)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      มิเตอร์น้ำ (Water Meter) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดปริมาตรของน้ำ ทำหน้าที่ในการวัดปริมาตรน้ำเมื่อมีการไหลผ่านและส่งค่าที่ได้ไปที่หน้าปัดหรือหน้าจอแสดงผล ซึ่งมีหลักการคำนวณและแปลงอัตราส่วนที่คำนวณได้เพื่อแสดงผลเป็นค่าที่ทำให้ผู้ใช้สามารถอ่านได้เป็นสากล เช่น ปริมาตรหน่วยลิตร (Litre) หรือลูกบาศก์เมตร (Cubic Meter) เป็นต้น      มิเตอร์น้ำ (Water Meter) จะมีทั้งแบบที่เป็นกลไกแบบ Analog ดั้งเดิม มีทั้งระบบอิเล็กทรอนิกส์และมีทั้งระบบส่งข้อมูลออกไปเป็นสัญญาณดิจิตอลตามแต่ประเภทของมิเตอร์น้ำ (Water Meter) หรือมาตรวัดน้ำ เช่น มาตรวัดน้ำแบบ Single Jet, มาตรวัดน้ำแบบ Multi Jet, มิเตอร์น้ำแบบ Piston และมาตรวัดน้ำที่ใช้หลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า เมื่อน้ำไหลผ่านอุปกรณ์การวัดจะหมุนหรือคำนวณตามปริมาตรของน้ำที่ไหลผ่าน อุปกรณ์การวัดจะมีการเชื่อมต่อกับแกนหมุนตัวเลขหรือส่งสัญญาณไฟฟ้าไปยังชุดแสดงผลเพื่อจะแสดงค่าของปริมาณน้ำที่หน้าปัด เป็นต้น โดยทางผู้บรรยายได้มีการนำเสนอกันไว้ในบทความในหัวข้อ “ประเภทและการเลือกใช้ มิเตอร์น้ำ (Water Meter) ในงานอุตสาหกรรมและอาคาร, ที่พักอาศัย” กันไปแล้วนั้น      โดยในวันนี้ทางผู้บรรยายจะมากล่าวถึงประโยชน์ของการใช้มิเตอร์น้ำ (Water Meter) และมิเตอร์แบบไร้สาย (LoRa Meter) ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาโซลูชั่นมิเตอร์ไฟฟ้า (kWh Meter) และมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ที่ช่วยให้การเก็บข้อมูลจากมิเตอร์เป็นเรื่องง่าย ช่วยลดขั้นตอนในการเดินจดค่าหน่วยมิเตอร์ไฟฟ้าและน้ำประปา สามารถบริหารข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ โดยผ่านระบบ Software Web Server Monitoring System (Prisoft) เพื่อช่วยลดขั้นตอนในการจดค่าน้ำและค่าไฟ ในหัวข้อ “ลดขั้นตอนการจดค่าน้ำและค่าไฟด้วย LoRa Meter (มิเตอร์แบบไร้สาย) และ Water Meter (มิเตอร์น้ำ)” ดังต่อไปนี้      มิเตอร์วัดค่าพลังงานไฟฟ้า 1 Phase แบบไร้สาย LoRa (1 Phase kWh Meter with LoRa) รุ่น KM-24-L ยี่ห้อ Primus 1 Phase kWh Meter with LoRa รุ่น KM-24-L ยี่ห้อ Primus แสดงหน้าจอของ 1 Phase kWh Meter with LoRa รุ่น KM-24-L ยี่ห้อ Primus      มิเตอร์วัดค่าพลังงานไฟฟ้า 1 Phase แบบไร้สาย LoRa (1 Phase kWh Meter with LoRa) รุ่น KM-24-L ยี่ห้อ Primus เป็นมิเตอร์วัดค่าทางไฟฟ้าและการใช้น้ำสำหรับติดตั้งที่อะพาร์ตเมนต์, ร้านค้าเช่า, ร้านค้าตลาดสด และในห้างสรรพสินค้า สามารถส่งข้อมูลแบบไร้สายได้ไกลถึง 500 m. สําหรับในอาคาร และ 1000 m. สําหรับนอกอาคาร ทำให้ประหยัดค่าแรงในการเดินสายและลดอุปกรณ์ โดยจะส่งสัญญาณเข้าระบบผ่าน LoRa Gateway เป็นตัวรับสัญญาณเข้า Computer เปลี่ยนเป็น Port Lan สามารถวัดและแสดงค่าแรงดันไฟฟ้า (V), กระแสไฟฟ้า (A), กําลังไฟฟ้า (kW), พลังงานไฟฟ้า (kWh) และแสดงผลการใช้นํ้าเป็นลูกบาศก์เมตร (m3) โดยรับ Pulse ของ Water Meter ได้ มี Input สําหรับรับ Pulse จาก Water Meter เพื่อส่งข้อมูลการใช้นํ้าเป็นลูกบาศก์เมตร (m3) ร่วมด้วย ให้ความถูกต้องในการจดบันทึก ประหยัดค่าใช้จ่าย แสดงผล 7-Segment LED แถวบนแสดงค่า Volt และ Amp แถวล่างแสดงค่า kW, kWh และการใช้นํ้าเป็นลูกบาศก์เมตร (m3) สลับกันตลอดเวลา ใช้กับกระแสไฟฟ้าได้โดยตรงสูงสุดถึง 45 A      มิเตอร์น้ำ (Water Meter)  เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดปริมาตรของน้ำ โดยจะทำหน้าที่วัดปริมาตรน้ำเมื่อมีการไหลผ่าน และส่งค่าที่ได้ไปที่หน้าปัดหรือหน้าจอแสดงผลซึ่งมีหลักการคำนวณและแปลงอัตราส่วนที่คำนวณได้เพื่อแสดงผลเป็นค่าที่ทำให้ผู้ใช้สามารถอ่านได้เป็นสากล เช่น ปริมาตรหน่วยลิตร (Litre) หรือลูกบาศก์เมตร (Cubic Meter) เป็นต้น      ยกตัวอย่าง มิเตอร์น้ำ (Water Meter) หรือมาตรวัดน้ำ ยี่ห้อ B METERS ได้ผ่านมาตรฐานของสำนักงานกลางชั่งตวงวัด และการประปา แต่ละประเภทอธิบายได้ดังนี้      • Single Jet Water Meter                          Single Jet Water Meter                          ลักษณะการติดตั้งของ Single Jet Model : CPR-M3-I Single Jet Model : CPR-M3-I      มิเตอร์ประเภท Single Jet Water Meter นี้ จะใช้วัดความเร็วของกระแสน้ำที่ไหลผ่านใบพัด ซึ่งกำหนดความเร็วเอาไว้ ณ จุดหนึ่งที่จะสามารถทำให้ใบพัดหมุนตามทิศทางและความแรงของการไหลของน้ำ ส่งผลไปยังแกนหมุนที่เชื่อมต่อกับหน้าปัดตัวเลขทำให้สามารถระบุค่าปริมาณน้ำที่ไหลผ่านได้ เหมาะสำหรับใช้วัดน้ำที่มีปริมาณน้อย เพราะใบพัดไม่สามารถทนทานกับปริมาณน้ำมาก ๆ ได้ โดยสามารถเลือกรุ่นการใช้งานที่เหมาะสม มิเตอร์น้ำเย็น น้ำอุณหภูมิปกติ 0.1-50 ํC และมิเตอร์น้ำร้อนอุณหภูมิ 30-90 ํC จะเป็นมิเตอร์น้ำติดตั้งแบบเกลียว โดยจะมีตั้งแต่ขนาด 15 mm. - 20 mm. หรือ ท่อขนาด 1/2 นิ้ว ถึง 2 นิ้ว เป็นต้น      • Multi Jet Water Meter Single Jet Water Meter ลักษณะการติดตั้งของ Multi Jet Model : GMB-I Multi Jet Model : GMB-I      มิเตอร์ประเภท Multi Jet Water Meter ส่วนประกอบของมาตรวัดน้ำจะประกอบด้วยห้องวัดปริมาตรน้ำ โดยการทำงานส่วนของห้องวัดน้ำจะมีรูเล็ก ๆ เป็นแนวเฉียงรอบในพัด เพื่อให้น้ำไปหมุนใบพัด เมื่อมีกระแสน้ำมากระทบใบพัดที่มีแม่เหล็กเชื่อมต่ออยู่ใบพัดจะหมุนและส่งแรงเหนี่ยวนำแม่เหล็กที่เฟืองอีกชิ้นหนึ่งให้เคลื่อนไหวตามไปด้วย ปรากฏเป็นตัวเลขที่เครื่องบันทึกปริมาตรน้ำ จะเป็นมิเตอร์น้ำติดตั้งแบบเกลียว โดยจะมีตั้งแต่ขนาด 15 mm. - 50 mm. หรือ ท่อขนาด 1/2 นิ้ว ถึง 2 นิ้ว เป็นต้น      • Woltmann Water Meter                          Woltmann Water Meter                          ลักษณะการติดตั้งของ Woltmann Model : WDE-K50 Woltmann Model : WDE-K50      มิเตอร์ประเภท Woltmann Water Meter เป็นมิเตอร์ที่วัดปริมาตรของน้ำแบบแนวนอนและแบบแนวตั้งที่ไหลผ่านใบพัด เหมาะสำหรับการวัดน้ำปริมาณมากที่มีอัตราการไหลสูง ซึ่งเป็นที่นิยมใช้งานในงานประปา งานระบบน้ำขนาดใหญ่ ฯลฯ เมื่อน้ำไหลผ่านใบพัดของมิเตอร์โวลท์แมน ใบพัดจะหมุนตามแรงของน้ำ การหมุนนี้จะถูกส่งไปยังหน้าปัดที่จะแสดงผลด้วยการทดรอบอัตราส่วนของระบบเฟืองทำให้สามารถวัดปริมาณของน้ำหรือของเหลวที่ต้องการจะวัดได้ ประเภทมิเตอร์น้ำแบบ Woltman จะเป็นแบบหน้าแปลน มีขนาด 50 mm. - 200 mm. หรือ ท่อขนาด 2 นิ้ว ถึง 8 นิ้ว เป็นต้น      • LoRa Water Meter                          LoRa Water Meter                          ลักษณะการติดตั้งของ Water Meter LoRa Model : HYDRODIGIT-S1 Water Meter LoRa Model : HYDRODIGIT-S1      มิเตอร์ประเภท Digital Single Jet Smart Meter เป็นมิเตอร์น้ำแบบดิจิตอล ส่งสัญญาณแบบไร้สายได้ในตัวแบบ LoRa เข้าที่ตัว LoRa Wan Gateway เพื่อส่งค่าไปที่ Computer โดยตรง เหมาะสำหรับงานอาคาร หอพัก คอนโด ร้านค้าเช้า ที่ต้องการเก็บค่าการใช้น้ำเข้า Software เลย โดยไม่ต้องเดินสายเพื่อประหยัดสายและลดอุปกรณ์ โดยอายุการใช้งานของมิเตอร์น้ำซึ่งจะมีแบตเตอรี่ในตัวสามารถใช้ได้ถึง 10 ปี อุปกรณ์จะเป็นมิเตอร์น้ำติดตั้งแบบเกลียว โดยจะมีตั้งแต่ขนาด 15 mm. - 20 mm.      จากตัวอย่าง มิเตอร์วัดค่าพลังงานไฟฟ้า 1 Phase แบบไร้สาย LoRa (1 Phase kWh Meter with LoRa) รุ่น KM-24-L ยี่ห้อ Primus และมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ยี่ห้อ B Meter ข้างต้นนั้น ผู้บรรยายจะขอยกตัวอย่างโซลูชั่นมิเตอร์ไฟฟ้า (Water Meter) และมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ที่บริหารข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ โดยผ่านระบบ Software Web Server Monitoring System (Prisoft) ดังนี้      การใช้งาน kWh Meter และ Water Meter ร่วมกับ Software (Prisoft) ผ่านเครือข่ายแบบไร้สาย LoraWan      การใช้งานมิเตอร์ไฟฟ้าแบบไร้สาย (LoRa kWh Meter) และมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ร่วมกับ Software เพื่อเก็บค่าพลังงานการใช้และทำบิลเพื่อเก็บค่าน้ำและค่าไฟใน Software เดียวกัน เหมาะสำหรับงานอาคาร คอนโด หอพัก ร้านค้าเช่า ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น      ประโยชน์ของการใช้งานมิเตอร์ไฟฟ้าแบบไร้สาย (LoRa kWh Meter) และมิเตอร์น้ำ (Water Meter)      • ลดขั้นตอนและลดข้อผิดพลาดในการเดินจดค่ามิเตอร์ไฟฟ้าและค่าน้ำประปา      • ลดต้นทุนในการเดินสาย      • สามารถบริหารข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ โดยผ่านระบบ Software Web Server Monitoring System (Prisoft)      • จัดทำบิลค่าน้ำ-ค่าไฟ (Billing) และ Export ข้อมูลในรูปแบบ Excel ได้      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน การใช้งานมิเตอร์น้ำรุ่น CPR-M3-I การใช้งานมิเตอร์น้ำรุ่น WDE-K50 Primus Software Pump Relay Pump Controller Wireless RS-485 TO LoRaWAN Converter   โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
การตรวจสอบการทำงานของ PLC และ HMI ด้วยระบบ IoT (Internet of Thing)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      Industrial Internet of Things (IIoT) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องจักรที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตและสามารถแบ่งปันข้อมูลและสื่อสารกันรวมถึงรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำมาวิเคราะห์และปรับปรุงวิธีการทำงานแบบ Real Time ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรือ Could เช่น โรงงานอัจฉริยะสามารถตรวจสอบเครื่องจักรอุตสาหกรรมเพื่อตรวจสอบและเก็บข้อมูลค่าพลังงานที่ใช้และปัญหาที่เกิดขึ้น และทำการแจ้งเตือน (Alarm) ผ่านห้องควบคุม หรือผ่าน Smart Phone รวมถึงการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ปัญหาและวางแผนการผลิตต่อไป เป็นต้น ซึ่งการใช้เทคโนโลยีในการเชื่อมต่อการตรวจสอบจากระยะไกลของเครื่องจักรและกระบวนการต่าง ๆ ทำให้เกิดการทำงานที่รวดเร็วง่ายขึ้นและมีค่าใช้จ่ายน้อยลง        โดยการเชื่อมต่อการตรวจสอบดังกล่าวนี้ เป็นการควบคุมการทำงานแบบลอจิก (Logic) ที่สามารถตั้งโปรแกรมได้ที่เรียกว่า PLC (Programmable Logic Control) และการอินเตอร์เฟซระหว่างมนุษย์และเครื่องจักรเรียกว่า HMI (Human Machine Interface) ผ่านอินเตอร์เน็ตและเราเตอร์เครือข่ายส่วนตัวเสมือน (VPN) เช่น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Computer), สมาร์ทโฟน (Smart Phone) หรือแท็บเล็ต (Tablet) ที่จะนำมาเชื่อมต่อเพื่อตรวจสอบการทำงาน เพราะอุปกรณ์แต่ละตัวมีการสื่อสารแบบดิจิตอลในตัวพร้อมการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต        นอกเหนือจากการเชื่อมต่อการเข้าถึงระยะไกลในการแก้ไขปัญหายังเชื่อมต่อกับระบบอัตโนมัติให้สามารถมองเข้าไปในเครื่องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการส่งข้อมูลการผลิตไปยังวิศวกรรม จัดการกับข้อมูลสรุปและการวิเคราะห์ผลจากการตรวจสอบเครื่องจักรหรือกระบวนการทำงานจากระยะไกลได้ (ดังรูปตัวอย่างการตรวจการตรวจสอบการทำงานของ PLC และ HMI ด้วยระบบ IioT) ตัวอย่างการตรวจสอบการทำงานของ PLC และ HMI ด้วยระบบ IIoT        การตรวจสอบการทำงานของเครื่องจักรระยะไกลด้วยอุปกรณ์อัตโนมัติ เชื่อมผ่านการใช้งานอินเทอร์เน็ตในอุตสาหกรรมของสิ่งต่าง ๆ (IoT) ทั้งซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ที่จำเป็นในการดำเนินการ ซึ่งการตรวจสอบการทำงานของเครื่องจักรจากระยะไกลกำลังกลายเป็นคุณสมบัติพื้นฐานของอุปกรณ์อัตโนมัติ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการใช้งาน Industrial Internet of Things (IIoT) ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ที่จำเป็นในการดำเนินการที่แตกต่างกันไปตามลักษณะความต้องการของผู้ใช้งาน        โดยในวันนี้ผู้บรรยายจะขอแนะนำการทำงานของ PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) ร่วมกับระบบ IoT (Internet of Thing) ในหัวข้อ “การตรวจสอบการทำงานของ PLC และ HMI ด้วยระบบ IoT (Internet of Thing)” โดยขอยกตัวอย่าง PLC+HMI รูปแบบ Touch Screen ยี่ห้อ Unitronics ที่มีหลากหลายรุ่น ดังนี้        PLC+HMI Touch Screen ยี่ห้อ Unitronics   SAMBA Vision Color Touch Screen OPLC Vision Color Touch Screen OPLC Vision Color Touch Screen OPLC Vision Graphic / Touch Screen OPLC Unistream Color Touch Screen OPLC SM-Series V570-Series 1040-Series V280-Series V530-Series USP-Series Samba PLC (PLC+HMI) สามารถเก็บข้อมูล (Data Logger) ได้ภายในตัวของ PLC หน้าจอรูปแบบ Touch Screen Vision PLC (PLC+HMI) สามารถเก็บข้อมูล (Data Logger) ได้ภายในตัวของ PLC หน้าจอรูปแบบ Touch Screen Unistream PLC (PLC+HMI) เน้นกับลักษณะงานที่ใช้กราฟิก (Graphic) หน้าจอรูปแบบ Touch Screen        จากตัวอย่างข้างต้นในการตรวจสอบการทำงานของ PLC+HMI ด้วยระบบ IoT และรูปแบบของ PLC (PLC+HMI) หน้าจอ Touch Screen ยี่ห้อ Unitronics ต่อมาเราจะมาพูดถึงระบบ VPNs กันบ้าง ก่อนอื่นมาทำความรู้จักกับ VPN หรือ VPNs กันก่อนว่าคืออะไร และมีประโยชน์อย่างไรในการทำงานร่วมกับ PLC (PLC+HMI)        VPN หรือ VPNs คือ VPN หรือเครือข่ายส่วนตัวเสมือน (Virtual Private Network) สร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายส่วนตัวระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยเราใช้ VPN เพื่อส่งข้อมูลอย่างปลอดภัยและไม่เปิดเผยตัวตนผ่านเครือข่ายสาธารณะ ซึ่งจะทำงานโดยปกปิดที่อยู่ IP ของผู้ใช้และเข้ารหัสข้อมูล เพื่อให้บุคคลที่ไม่ได้รับอนุญาตไม่สามารถอ่านได้        VPNs และความปลอดภัยสำหรับระบบอัตโนมัติ PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตควรใช้ Firewall ที่เป็นระบบมาตรฐานที่พบใน Router ส่วนใหญ่และลดความเสี่ยงในการเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต ความปลอดภัยอีกชั้นคือการเชื่อมต่อ VPN (เครือข่ายส่วนตัวเสมือน) การเข้ารหัสที่ใช้ใน VPN ช่วยให้มั่นใจว่าข้อมูลจะไม่ถูกดักจับและผู้ใช้ที่ได้รับอนุญาตเท่านั้นที่สามารถเข้าถึง PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface) หรืออุปกรณ์เครือข่ายอื่น ๆ VPN เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์เชิงลึกเพื่อลดโอกาสของการเข้าถึงที่อันตรายและการเชื่อมต่อกับระบบอัตโนมัติที่ไม่ได้รับอนุญาต        ตัวอย่างระบบ VPNs และความปลอดภัยสำหรับระบบอัตโนมัติ PLC+HMI (Programmable Logic Control + Human Machine Interface)        ตัวอย่างโปรแกรมการตรวจสอบการทำงานของ PLC และ HMI ด้วยระบบ IOT (Internet of Thing) PLC+HMI แบบ Touch Screen ยี่ห้อ Unitronics        จากรูปตัวอย่างเป็นการนำ PLC Unitronics PLC+HMI รุ่น V700 มาเชื่อมต่อกับระบบ IIoT โดยผ่าน Cloud Box ในส่วนของ PLC เราจะทำการเขียน Config IP Address ให้ที่ PLC และทำการเปิด Port Connect เพื่อเชื่อมต่อตัวอุปกรณ์ Cloud และในส่วนของ HMI ได้มีการนำ Tag In-Out ขึ้นมาโชว์สถานะ ซึ่งในรูปดังกล่าวมีการทำ Config ระบบ Cloud เพื่อให้สามารถมอนิเตอร์การทำงานต่าง ๆ ของอุปกรณ์และระบบได้ ในขณะที่ทำการมอนิเตอร์เรายังสามารถแก้โปรแกรมไปยัง PLC ได้อีกด้วย โดยเราจะได้การทำงานที่เรียกว่า VPN นั่นเอง        ข้อดีของการตรวจสอบการทำงานของ PLC และ HMI ด้วยระบบ IoT (Internet of Thing) ดังนี้      • ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง      • สามารถควบคุมและสั่งการได้โดยทันทีเพื่อให้รวดเร็วต่อการดูแล      • สารมารถเข้าถึงการใช้งานและรับรู้การทำงานได้พร้อมกันทุกฝ่าย        นอกจากนี้ยังมี PLC (PLC+HMI) รูปแบบต่าง ๆ ที่สามารถใช้งานร่วมกับอุปกรณ์เครื่องมือวัดเพื่อควบคุมอัตโนมัติ เช่น Temperature Sensor (Thermocouple, RTD Pt100), Temp Control, I/O Modules, Signal Transmitter, Load cell, Relay Modules, Switching Power Supply, Signal Tower Light, Sensor, Level Sensor และอื่น ๆ อกีมากมาย สามารถดูข้อมูลสินค้าเพิ่มเติมได้ที่ www.primusthai.com   UniStream PLC Vision PLC Samba PLC Jazz & M91 PLC UniStream PLC เน้นกับงานที่ใช้กราฟิก หน้าจอแบบ Touch Screen Vision PLC สามารถเก็บข้อมูล (Data Logger) ได้ภายในตัวของ PLC เลย หน้าจอแบบ Touch Screen Samba PLC สามารถเก็บข้อมูล (Data Logger) ได้ภายในตัวของ PLC เลย หน้าจอแบบ Touch Screen (ราคาถูก) Jazz and M91 PLC มีขนาดเล็กกะทัดรัด (Micro PLC) หน้าจอแบบ LCD        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   เครื่องล้างจาน เครื่องคอนโทรลปั๊มน้ำร้อน ควบคุมระบบน้ำเสีย Switching Power Supply Signal Transmitter Digital Transmitter  I/O Module PH-Series  I/O Module PB-Series โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK  

Image Alternative text
แจ้งเตือนก่อนชิ้นงานมีปัญหาด้วยอุปกรณ์เช็คฮีตเตอร์ขาด (Heater Break Alarm)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      ฮีตเตอร์ (Heater) คือ อุปกรณ์ให้ความร้อนแก่ชิ้นงานโดยอาศัยหลักการนำพาความร้อนโดยผ่านขดลวดตัวนำ (R) ทำให้เกิดกระแสขึ้น ในปัจจุบันมีการใช้งานอย่างแพร่หลายในภาคอุตสาหกรรม อาทิ อุตสาหกรรมอาหาร, อุตสาหกรรมยานยนต์ เช่น งานอบสี, บรรจุภัณฑ์, งานขึ้นรูปพลาสติก เป็นต้น โดยฮีตเตอร์ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมทั่วไปแบ่งออกเป็นประเภทตามการใช้งาน ดังนี้   ตัวอย่างรูปแบบของฮีตเตอร์ (Heater) ประเภทของฮีตเตอร์แบ่งลักษณะตามการใช้งาน • ฮีตเตอร์รัดท่อ (Band Heater) เพื่อให้ความร้อนแก่เครื่องฉีดพลาสติก • ฮีตเตอร์แผ่น (Strip Heater) เพื่อให้ความร้อนกับแผ่นแม่พิมพ์ • ฮีตเตอร์ต้มน้ำ (Immersion Heater) เพื่อต้มน้ำมัน-ของเหลว หรือต้มสารเคมี • ฮีตเตอร์แท่ง (Cartridge Heater) เพื่อให้ความร้อนแก่แม่พิมพ์ในการอุ่นของเหลว-อุ่นกาว • ฮีตเตอร์ท่อกลม (Tubular Heater) เพื่อให้ความร้อนในการอุ่นของเหลว • ฮีตเตอร์ครีบ (Finned Heater) เพื่อให้ความร้อนกับอากาศในการอบแห้ง-ไล่ความชื้น • ฮีตเตอร์อินฟราเรด (Infrared Heater) ให้ความร้อนโดยการแผ่รังสี งานอบสี, อบขนม, อบอาหาร ฯลฯ        โดยในการใช้งานฮีตเตอร์ (Heater) ประเภทต่าง ๆ จะต้องมีการออกแบบให้เหมาะสมกับงานนั้น ๆ โดยมีองค์ประกอบพื้นฐานเบื้องต้น เช่น ขนาดของฮีตเตอร์ (W*H) / ขนาดท่อ (Tube), แรงดันไฟฟ้า (Volt), กำลังวัตต์ (Watt) เป็นต้น (ขึ้นอยู่กับประเภทของฮีตเตอร์) และถ้ามีการบำรุงรักษาที่ถูกวิธีจะทำให้ฮีตเตอร์ (Heater) ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ แต่บ่อยครั้งที่ผู้ใช้งานมักจะพบปัญหาอายุการใช้งานของฮีตเตอร์ที่สั้นผิดปกติหรือขาดบ่อยโดยไม่ทราบสาเหตุ หรือฮีตเตอร์ขาดอันเนื่องมาจากสาเหตุต่าง ๆ ดังนี้        สาเหตุของอายุการใช้งานของฮีตเตอร์ (Heater) สั้น หรือฮีตเตอร์ (Heater) ขาดบ่อย      • การจ่ายแรงดันไฟฟ้าที่ไม่เหมาะสม เช่น ฮีตเตอร์ 220V จ่ายแรงดัน 380V ทำให้เสียหาย      • กำลังวัตต์ที่ไม่เหมาะสมกับขนาดฮีตเตอร์ เช่น ฮีตเตอร์รัดท่อ (Band Heater) ที่เหมาะสมไม่ควรเกิน 5W/CM2      • การเลือกใช้วัสดุที่ไม่เหมาะสมกับงาน เช่น ฮีตเตอร์ต้มน้ำ (Immersion Heater) นำไปใช้งานกับน้ำที่มีสารเคมี แต่เลือกใช้วัสดุที่ไม่สามารถทนต่อสารเคมีได้ เช่น สแตนเลส SUS304 เป็นต้น      • คราบตะกรันติดที่ท่อฮีตเตอร์ เช่น ฮีตเตอร์ต้มน้ำ (Immersion Heater), ฮีตเตอร์ท่อกลม (Tubular Heater) ที่สะสม ถ้าไม่หมั่นทำความสะอาดจะทำให้การถ่ายเทความร้อนไม่ดี ทำให้ฮีตเตอร์ (Heater) ทำงานหนักขึ้น      • อุปกรณ์ควบคุม เช่น Temperature Controller หรือ Thermostat ไม่ตัดการทำงาน ทำให้ฮีตเตอร์ทำงานตลอดเวลา        ดังนั้นในบทความนี้ผู้บรรยายจึงขอแนะนำอุปกรณ์ที่จะช่วยให้ทางผู้ใช้งานทราบการแจ้งเตือนการขาดของฮีตเตอร์ (Heater) ก่อนที่จะส่งผลเสียให้ชิ้นงานหรือผลิตภัณฑ์เสียหาย ในหัวข้อ “แจ้งเตือนก่อนชิ้นงานมีปัญหาด้วยอุปกรณ์เช็คฮีตเตอร์ขาด (Heater Break Alarm)” เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับแจ้งเตือนฮีตเตอร์ขาด (Heater Break Alarm) โดยเฉพาะ เพื่อแจ้งให้ผู้ปฏิบัติงานทราบถึงความผิดปกติของฮีตเตอร์ (Heater) ก่อนที่จะทำให้สินค้าหรือไลน์การผลิตเกิดความเสียหาย โดยใช้หลักการของการเช็คกระแสของฮีตเตอร์ (Heater) แต่ละตัว โดยมีวิธีการเช็คดังตัวอย่างต่อไปนี้        ยกตัวอย่างการใช้อุปกรณ์แจ้งเตือนฮีตเตอร์ขาด รุ่น CM-005N-4CH (Heater Break Alarm) แบบ Input 4 Channel ที่ทำงานแยกอิสระจากกัน ต่อร่วมกับอุปกรณ์แสดงผลค่ากระแสและสถานะของฮีตเตอร์ รุ่น CM-005DN (Digital Monitor for Heater Break Alarm) ตัวอย่างการต่อใช้งานอุปกรณ์แจ้งเตือนฮีตเตอร์ขาด รุ่น CM-005N-4CH (Heater Break Alarm) Input 4 Ch. ต่อร่วมกับอุปกรณ์แสดงผลค่ากระแสและสถานะของฮีตเตอร์ รุ่น CM-005DN (Digital Monitor for Heater Break Alarm)        อธิบายการทำงานของอุปกรณ์แจ้งเตือนฮีตเตอร์ขาด โดยต่ออุปกรณ์แจ้งเตือนฮีตเตอร์ขาด รุ่น CM-005N-4CH (Heater Break Alarm) แบบ Input 4 Channel ที่ทำงานแยกอิสระจากกัน ร่วมกับอุปกรณ์แสดงผลค่ากระแสและสถานะของฮีตเตอร์ รุ่น CM-005DN (Digital Monitor for Heater Break Alarm) เพื่อแจ้งเตือนความผิดปกติให้ผู้ปฏิบัติทราบถึงสถานะของฮีตเตอร์ (Heater) หากกระแสของฮีตเตอร์ (Heater) ตัวใดหรือชุดใดไม่มีกระแสไหลผ่านหรือกระแสไหลผ่านน้อยกว่าค่าที่ตั้งไว้ แสดงว่าฮีตเตอร์ (Heater) ตัวนั้นขาด หรือภายในชุดนั้นมีฮีตเตอร์ (Heater) ตัวใดตัวนึงขาด อุปกรณ์แจ้งเตือนฮีตเตอร์ขาดรุ่น CM-005N-4CH (Heater Break Alarm) ก็จะแจ้งเตือน Alarm ทันที โดยหากมีการต่อไฟ Warning Light รุ่น TLW ร่วมด้วย ไฟก็จะติดพร้อมกับที่เครื่องแสดงผล CM-005DN ก็จะโชว์สถานะและตำแหน่งที่ฮีตเตอร์เกิดผิดปกติ จะทำให้ผู้ใช้งานสามารถทราบและเข้าตรวจสอบได้ทันที ซึ่งจากข้อความข้างต้นจะมีประโยชน์อย่างมากกับเครื่องจักรที่มีการใช้งานฮีตเตอร์ (Heater) จำนวนหลายตัวและหลายโซนเพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น เพราะหากฮีตเตอร์ (Heater) เส้นใดเส้นหนึ่งขาดโดยที่ผู้ปฏิบัติงานไม่รู้อาจจะทำให้ชิ้นงานเสียหายได้        ดังนั้นในวิธีการที่กล่าวมาข้างต้นสำหรับการเช็คฮีตเตอร์ขาดนั้น หวังว่าคงเป็นประโยชน์ให้กับผู้ใช้งานได้ไม่มากก็น้อย และเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งานฮีตเตอร์ (Heater) การเลือกใช้อุปกรณ์ต่อร่วมก็สำคัญเช่นกัน เช่น Temperature Controller, Solid State Relay, Temperature Sensor เป็นต้น        สรุปข้อดีของการแจ้งเตือนก่อนชิ้นงานมีปัญหาด้วยอุปกรณ์เช็คฮีตเตอร์ขาด (Heater Break Alarm) ดังนี้      1. ป้องกันชิ้นงานเสียหายอันเนื่องจากฮีตเตอร์ชำรุด ในกรณีที่ผู้ใช้งานฮีตเตอร์จำนวนหลายตัวในเครื่องเดียวในการให้ความร้อนกับชิ้นงาน      2. เข้าถึงหน้างานได้รวด ง่ายต่อการ Maintenance เพราะอุปกรณ์เช็คฮีตเตอร์ขาด (Heater Break Alarm) รุ่น CM-005N-4CH จะมี LED และ Alarm แสดงสถานะการขาดของฮีตเตอร์ (Heater) ทำให้ช่างทำการซ่อมหรือเปลี่ยนฮีตเตอร์ (Heater) ได้ทันทีเนื่องจากทราบตำแหน่งฮีตเตอร์ (Heater) ที่เสียหายชัดเจน      3. เพิ่มอายุการใช้งานของฮีตเตอร์ เช่น ในกรณีที่มีฮีตเตอร์ (Heater) ตัวใดตัวหนึ่งขาด คุณจะไม่สามารถทราบเลยว่ามีฮีตเตอร์ (Heater) ขาดเกิดขึ้น เพราะเนื่องจากอุณหภูมิที่ได้นั้นยังมีค่าเท่าเดิม แต่ผลลัพธ์คือการทำงานของฮีตเตอร์ตัวที่ใช้ได้มีการทำงานหนักขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้อายุการใช้งานของฮีตเตอร์ (Heater) สั้นลง      4. ประหยัดเวลาในการตรวจเช็ค เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้กับเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงาน ไม่ต้องเสียเวลาในการตรวจเช็คความผิดปกติของฮีตเตอร์ (Heater) ให้ยุ่งยากเพราะสามารถดูได้จาก LED ที่กระพริบ หรือดูจาก Monitor ได้เลย        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   เครื่องขึ้นรูปพลาสติก ห้องอบสี เครื่องฉีดพลาสติก   Current Transformer Heater Digital Temperature Controller PID Control Function Digital Temperature Controller Digital Temperature Indicator โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
5 วิธี ติดตั้งเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) ที่ทำให้ค่าอุณหภูมิเที่ยงตรงและแม่นยำ

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      Temperature Controller หรือ เครื่องควบคุมอุณหภูมิ คือ อุปกรณ์ที่รับค่า (Input) สัญญาณจากเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) เช่น Thermocouple, RTD (PT100), NTC, PTC หรือรูปแบบสัญญาณอนาล็อกมาตรฐาน 4-20mA, 0-10VDC เป็นต้น แล้วส่งข้อมูลที่วัดค่าได้ไปประมวลผล (Process) แสดงผลที่หน้าจอ (Display) พร้อมทั้งส่งเอาต์พุต (Output) ออกไปควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การปรับค่าอุณหภูมิของ Heater ให้เพิ่มขึ้นหรือลดลง ด้วยกระบวนการควบคุมแบบ PID Control, ON-OFF Control, Fuzzy Logic Control เป็นต้น โดย Temperature Controller หรือเครื่องควบคุมอุณหภูมิ สามารถแบ่งตามประเภทของ Temperature Controller มี 2 แบบหลัก ๆ ดังนี้        ประเภทของเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller)   Analog Temperature Controller Digital Temperature Controller เครื่องควบคุมอุณหภูมิแบบอนาล็อก เครื่องควบคุมอุณหภูมิแบบดิจิตอล        หลักการทำงานเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) ทำหน้าที่ในการประมวลผลสัญญาณอินพุตจากเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Thermocouple, RTD, NTC/PTC) หรือสัญญาณอนาล็อกมาตรฐาน (4-20mA, 0-10VDC) และทำการสั่งงานเอาต์พุต (Relay, SSR, 4-20mA, 0-10VDC) เพื่อไปควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น Heater, Solid State Relay, Motor, Vale, Pump Water เป็นต้น ตามเงื่อนไขที่ทำการตั้งค่าไว้ โดยกระบวนการควบคุมนั้นมีด้วยกันหลากหลายรูปแบบ เช่น ON-OFF, PID, Fuzzy เป็นต้น        จากข้อมูลข้างต้น ในวันนี้ผู้บรรยายจะขอแนะนำวิธีการติดตั้ง Temperature Controller อย่างถูกวิธี ควรทำอย่างไรและมีปัจจัยอะไรบ้างในการติดตั้ง เพื่อทำให้ค่าที่ได้ไม่เพี้ยนและมีความแม่นยำในการ Control อุณหภูมิ ในหัวข้อ “5 วิธี ติดตั้งเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) ที่ทำให้ค่าอุณหภูมิเที่ยงตรงและแม่นยำ” โดยมีปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้        ปัจจัยที่ควรคำนึงถึงในการใช้งานเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) ได้แก่      • ตำแหน่งของตัวเซ็นเซอร์ที่ใช้ในการวัดอุณหภูมิ      • ความเร็วการตอบสนองต่ออุณหภูมิของตัวเซ็นเซอร์      • การเดินสายสัญญาณและชนิดของสายสัญญาณของตัวเซ็นเซอร์        และส่วนอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งรายละเอียดต่อจากนี้จะเป็นการแนะนำถึงปัจจัยที่ควรคำนึงถึงสำหรับการติดตั้งเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) อย่างถูกวิธี ที่ทำให้ค่าอุณหภูมิเที่ยงตรงและแม่นยำ ทางผู้บรรยายขอแนะนำ 5 วิธี ดังนี้        1. ตำแหน่งของตัวเซ็นเซอร์ที่ใช้ในการวัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) ระยะห่างของตัวเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิกับเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) ไม่ควรเกิน 15 เมตร เนื่องจากจะเกิดค่า Error ขึ้น ทำให้ค่าอุณหภูมิไม่เที่ยงตรง แต่ในฟังก์ชั่นของเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) สามารถตั้งค่าชดเชยอุณหภูมิได้ หรือในกรณีที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงระยะมากกว่า 15 เมตรได้ ผู้บรรยายขอแนะนำให้ใช้ตัวแปลงสัญญาณที่มี Analog Output ใช้งานร่วมด้วย อาทิ Temperature Signal Transmitter เป็นต้น        ตัวอย่างระยะการติดตั้งของตัวเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิกับเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) รุ่น TMP-48C ยี่ห้อ Primus กับเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ ตัวอย่างระยะการติดตั้งเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิร่วมกับ Temperature Controller        2. ความเร็วการตอบสนอง (Sampling Time) ต่ออุณหภูมิของเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) กับตัวเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) ความเร็วการตอบสนองต่ออุณหภูมิเป็นสิ่งสำคัญในการรับสัญญาณระหว่างเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) กับตัวเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ โดยสามารถพิจารณาได้จากข้อมูลทางเทคนิคดังตัวอย่างดังนี้        ตัวอย่างตารางข้อมูลทางเทคนิคเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) รุ่น TMP-48C ยี่ห้อ Primus ข้อมูลทางเทคนิค Temperature Controller รุ่น TMP-48C ยี่ห้อ Primus        3. การเดินสายสัญญาณและชนิดของสายสัญญาณของตัวเซ็นเซอร์ (Temperature Sensor Wire) การเดินสายสัญญาณและการเลือกชนิดของสายเซ็นเซอร์เป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่ง โดยส่งผลต่อระยะทางและเพื่อให้เหมาะกับสภาพแวดล้อมและหน้างาน โดยผู้ใช้สามารถพิจารณาเลือกชนิดของสายให้เหมาะสม (ตัวอย่างสาย Thermocouple Type K, J) ดังนี้        ตัวอย่างชนิดสายเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor Wire) ขนาดและชนิดสายเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor Wire)        4. การเจาะรูยึด (Panel Cut Out) เครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) การเจาะรูยึดเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) มีความสำคัญมาก เนื่องจากจะทำให้โครงสร้างของเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) ไม่บิดเบี้ยว ทนต่อแรงสั่นสะเทือน และสามารถระบายความร้อนภายในตัวได้ดี สะดวกต่อการเดินสายไฟและซ่อมบำรุง โดยปกติแล้ว Panel Cut Out นั้นจะถูกระบุไว้ที่คู่มือของตัวควบคุมอุณหภูมิอยู่แล้ว        ตัวอย่างเจาะรูยึด (Panel Cut Out) เครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) รุ่น TMP-48C ยี่ห้อ Primus ตัวอย่างขนาด Diamension การเจาะรูยึด (Panel Cut Out) ของ Temperature Controller รุ่น TMP-48C ยี่ห้อ Primus        5. สัญลักษณ์ (Symbol) Diagram การต่อใช้งานที่เครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) สัญลักษณ์ (Symbol) ที่ตัวเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) มีความสำคัญอย่างมาก เนื่องจากจะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยให้ผู้ใช้งาน Wiring สายได้ถูกต้องโดยไม่ต่อเข้าขั้วผิด ทำให้ไม่เกิดการผิดพลาดขณะทำงานหรือการอ่านค่าผิดเพี้ยน เป็นการป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้กับคอนโทรลเลอร์ เช่น การลัดวงจร หรือภาครับอินพุตเสียหาย ซึ่งเป็นสาเหตุที่เกิดขึ้นได้        ตัวอย่างสัญลักษณ์และ Diagram การต่อใช้งานที่เครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) Symbol TMP-48C ยี่ห้อ Primus สัญลักษณ์และ Diagram การต่อใช้งาน Temperature Controller รุ่น TMP-48C ยี่ห้อ Primus        ข้อดีของการติดตั้งเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller)      • การควบคุมอุณหภูมิและการแสดงผลมีความถูกต้องและแม่นยำ      • ประหยัดเวลาในการซ่อมบำรุง      • ใช้งานง่าย ไม่ซับซ้อน ราคาถูก        ตัวอย่างการต่อใช้งานเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controller) รุ่น TMP-48C ยี่ห้อ Primus        หลักการทำงาน Temperature Controller คือ Controller จะรับ Input จากอุปกรณ์ประเภทเซ็นเซอร์ เช่น Thermocouple, Pt100 ที่ตรวจวัดอุณหภูมิ และทำการเปรียบเทียบกับอุณหภูมิที่ผู้ใช้งานได้ตั้งไว้ Set Value (SV) และประมวลผล (Process) ตามฟังชันก์ Control ที่ตั้งไว้ (PID, ON-OFF) แล้วจึงส่งสัญญาณ Output ไปยังอุปกรณ์ Solid Stat Relay (SSR) ที่ใช้ในการตัด-ต่อ เพื่อควบคุมฮีตเตอร์ (Heater) ให้ได้อุณหภูมิตามที่ต้องการ        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   เครื่องฉีดพลาสติก เครื่องบรรจุ เครื่องจักรอาหาร Digital Temperature Controller PID Control Function Digital Temperature Controller Analog Temperature Controller Single Phase Solid State Relay Temperature Sensor โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
มาทำความรู้จักฟังก์ชั่น Sum, Diff, Avg ภายในเครื่องวัดค่าและแสดงผลแบบดิจิตอล 4 Channel (4 Channel Indicator with Alarm)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      อุปกรณ์วัดอุณหภูมิและ Process ต่าง ๆ แบบ 4 Channel (4 Channel Indicator with Alarm) หรือเครื่องแสดงผลแบบ 4 แชนแนลพร้อมอะลาร์ม เป็นอุปกรณ์วัดและแสดงผลแบบดิจิตอลที่สามารถรับสัญญาณได้สูงสุด 4 Input ภายในตัวเดียวกัน สามารถรับสัญญาณอินพุตประเภทเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ อาทิ Thermocouple Type K, J, R, T, N, S, E, RTD (PT100), และสัญญาณอนาล็อกมาตรฐาน 4-20mA, 0-10VDC เป็นต้น เพื่อแสดงผลค่าต่าง ๆ เช่น ค่าอุณหภูมิ (Temperature), ความชื้น (Humidity), แรงดัน (Pressure Transmitter), อัตราการไหล (Flow) โดยมี 4 Alarm Output, 4 Alarm Function และยังสามารถเลือกให้ทํางานสัมพันธ์กับอินพุต Channel 1, 2, 3, 4 หรือค่าความแตกต่างระหว่าง Channel 1 กับ 2 และ Channel 3 กับ 4 Channel มาควบคุมการทํางานของ Alarm ได้ โดยมี Alarm Output ดังกล่าวยังสามารถใช้เป็นการแจ้งเตือนหรือต่อใช้งานร่วมกับอุปกรณ์อื่น ๆ ในระบบ ทำให้ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้ง และสะดวกในการ Wiring สาย นอกจากนี้อุปกรณ์วัดอุณหภูมิและ Process ต่าง ๆ แบบ 4 Channel (4 Channel Indicator with Alarm) ยังสามารถ Monitor หรือเก็บข้อมูลผ่าน RS-485, MODBUS RTU Protocol ผ่าน Software Primus Indicator Pro ลงเครื่องคอมพิวเตอร์หรือบันทึกข้อมูลผ่าน SD-Card โดยผ่านอุปกรณ์ RS-485 Data Logger รุ่น KM-18 (ดังตัวอย่างที่ 1) ตัวอย่างที่ 1 : แสดงการ Monitor และการเก็บบันทึกค่าข้อมูลของอุปกรณ์วัดอุณหภูมิและ Process ต่าง ๆ แบบ 4 Channel (4 Channel Indicator with Alarm) รุ่น TIM-94N-4CH ยี่ห้อ Primus ร่วมกับ RS-485 Data Logger และ Software Primus Indicator Pro      โดยอุปกรณ์วัดอุณหภูมิและ Process ต่าง ๆ แบบ 4 Channel (4 Channel Indicator with Alarm) สามารถเลือกให้แสดงค่าบนหน้าจอแสดงผลแต่ละ Input ได้ทั้งแบบ Manual และแบบ Auto กรณีเลือกการแสดงค่าแบบ Manual โดยสามารถกดปุ่มเลือก Channel ได้ตามต้องการ และกรณีเลือกการแสดงค่าแบบ Auto โดยอุปกรณ์วัดอุณหภูมิและ Process ต่าง ๆ แบบ 4 Channel (4 Channel Indicator with Alarm) จะแสดงค่าในแต่ละอินพุตสลับไปตามเวลาที่ตั้งไว้ (ดังตัวอย่างที่ 2) ตัวอย่างที่ 2 : 7 Segment แสดง Channel 1 ถึง 4 Channel ของ อุปกรณ์วัดอุณหภูมิและ Process ต่าง ๆ แบบ 4 Channel (4 Channel Indicator with Alarm) รุ่น TIM-94N-4CH ยี่ห้อ Primus  แสดง 7 Segment แสดง Channel 1 ถึง 4 Channel กรณีตั้งแบบ Auto      จากคุณสมบัติเบื้องต้นของอุปกรณ์วัดอุณหภูมิและ Process ต่าง ๆ แบบ 4 Channel (4 Channel Indicator with Alarm) รุ่น TIM-94N-4CH ยี่ห้อ Primus ที่ทางผู้บรรยายได้กล่าวมาข้างต้น ผู้อ่านสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมในบทความที่ผ่านมาในหัวข้อ “การวัดและแสดงผลค่าอุณหภูมิ 4 Channel (4 Channel Digital Indicator) ภายในตัวเดียวกัน” และ “4 ข้อดี Digital Indicator 1 ตัว แสดงค่าได้ถึง 4 Channel (4 Universal Input Digital Indicator)” ได้      โดยในวันนี้ผู้บรรยายขอแนะนำฟังก์ชั่น Sum, Diff, Avg ใน 4 Channel Indicator with Alarm เนื่องจากมีคำถามจากทางผู้ใช้งานที่สอบถามฟังก์ชั่นดังกล่าวกันเข้ามาว่าคืออะไร และสามารถนำมาประยุกต์ใช้งานได้อย่างไร ดังนั้นผู้บรรยายจึงได้ทำบทความนี้ขึ้นภายใต้หัวข้อ “มาทำความรู้จักฟังก์ชั่น Sum, Diff, Avg ใน 4 Channel Indicator with Alarm (เครื่องแสดงผลแบบ 4 แชนแนลพร้อมอะลาร์ม)” โดยสามารถอธิบายได้ดังนี้      1. Function : Sum คือ เป็นการแสดงค่าผลรวมของ 2 Input เพื่อนำมาแสดงบนหน้าจอแสดงผล ยกตัวอย่างการตั้งค่า Function : Sum ของอุปกรณ์วัดอุณหภูมิและ Process ต่าง ๆ แบบ 4 Channel (4 Channel Indicator with Alarm) รุ่น TIM-94N-4CH ยี่ห้อ Primus       การประยุกต์ใช้งาน Function : Sum : วัด OD (Outside Diameter) ของยางรถยนต์      2. Function : Diff คือ เป็นการแสดงค่าเทียบค่าของ 2 Input เพื่อนำมาแสดงบนหน้าจอแสดงผล ยกตัวอย่างการตั้งค่า Function : Diff ของอุปกรณ์วัดอุณหภูมิและ Process ต่าง ๆ แบบ 4 Channel (4 Channel Indicator with Alarm) รุ่น TIM-94N-4CH ยี่ห้อ Primus การประยุกต์ใช้งาน Function : Diff : การวัดอุณหภูมิของน้ำทั้ง 2 จุด ระหว่างน้ำร้อนกับน้ำเย็น เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของอุณหภูมิน้ำ      3. Function : Avg คือ เป็นการแสดงค่าเฉลี่ยของ 2 Input เพื่อนำมาแสดงบนหน้าจอแสดงผล ยกตัวอย่างการตั้งค่า Function : Avg ของอุปกรณ์วัดอุณหภูมิและ Process ต่าง ๆ แบบ 4 Channel (4 Channel Indicator with Alarm) รุ่น TIM-94N-4CH ยี่ห้อ Primus การประยุกต์ใช้งาน Function : Avg : วัดค่าอุณหภูมิของน้ำทั้ง 2 จุด เพื่ออ่านค่าเฉลี่ยของน้ำ      จากตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน Function Sum, Diff, Avg ภายในเครื่องวัดและแสดงผลค่าสัญญาณอนาล็อกมาตราฐานและค่าอุณหภูมิและ Process ต่าง ๆ แบบ 4 Channel (4 Channel Indicator with Alarm) รุ่น TIM-94N-4CH โดยความหมายของการใช้ฟังก์ชั่น Sum, Diff, Avg ใน 4 Channel Indicator with Alarm (เครื่องแสดงผลแบบ 4 แชนแนล พร้อมอะลาร์ม) สามารถบอกถึงข้อดีได้ดังนี้      1. เป็นอุปกรณ์การวัดและอ่านค่าของ Universal Input ได้ทุกประเภทในตัวเดียวกัน โดยการเลือกที่ Keypad เช่น Thermocouple K, J, R, T, N, S, E, RTD (PT100), Current Analog 0-20mA, 4-20mA, Voltage Analog : 0-75mV, 0-150mV, 0-1VDC, 0-5VDC, 0-10VDC, +/- 0-75mVDC, +/- 0-150mVDC, +/- 0-1VDC, +/- 0-5VDC, +/- 0-10VDC เป็นต้น      2. เป็นอุปกรณ์สำเร็จรูปในการวัดและอ่านค่าของ Input ต่าง ๆ ที่มีฟังก์ชั่น Sum, Diff, Avg ในตัวเดียวกัน      3. ราคาประหยัด โดยไม่ต้องใช้ PLC ตัวอย่าง Diagram การต่อใช้งานเครื่องวัดค่าและแสดงผลแบบ 4 แชนแนลพร้อมอะลาร์ม (4 Channel Indicator with Alarm) รุ่น TIM-94N-4CH ยี่ห้อ Primus ตัวอย่าง Diagram การต่อใช้งานเครื่องวัดค่าและแสดงผลแบบ 4 Channel Indicator โดยรับสัญญาณ Input จากอุปกรณ์เครื่องมือวัดประเภท RTD (Pt100), Pressure Transmitter และ Inverter   ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน วัด OD (Outside Diameter) ของยางรถยนต์ วัดอุณหภูมิความแตกต่างของน้ำทั้ง 2 จุด วัดค่าเฉลี่ยอุณหภูมิของน้ำทั้ง 2 จุด Universal Input Digital Indicator With Alarm Unit Digital AC/DC Amp Meter (True RMS) Digital AC/DC Volt Meter (True RMS) Digital Indicator เครื่องแสดงผลแบบดิจิตอล Digital Temperature Indicator โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
ปัญหาที่พบบ่อยของ Dry Run / Load Protection Relay รุ่น PM-007

PM-007 : Dry Run / Load Protection Relay คุณสมบัติ • เป็นอุปกรณ์ป้องกันปั๊มน้ำเดินตัวเปล่าโดยไม่มีน้ำและอุปกรณ์ป้องกันเกียร์เสียหายเนื่องจากโหลดเกิน • สามารถเลือกชนิดของการป้องกันได้ทั้งแบบกระแส A และเพาเวอร์แฟคเตอร์ PF • มีให้เลือกใช้งานทั้งแบบ 1 เฟส และ 3 เฟส • มี Input รับคำสั่งจาก Level Switch กรณีใช้งานเป็น Dry Run • มีโหมดการใช้งานทั้ง Under และ Over Protection ปัญหาที่พบบ่อยในการใช้งาน 1. ปั๊มน้ำไม่ยอมทำงาน 2. ปั๊มทำงานไม่ตรงตามเงื่อนไขที่ต้องการ วิธีการตรวจเช็คและแนวทางแก้ไข 1. ปั๊มน้ำไม่ยอมทำงาน     • ตำแหน่ง Ext Input กรณีที่ไม่มี Level Switch ให้ทำการ Close Di + กับ Di -     • อาจจะมีสาเหตุมาจากน้ำไม่มีในระบบกรณีต่อ Level Switch และน้ำขาดทำให้ Dry Run ตัดการทำงาน     • การตั้งค่า Recovery Time มากเกินไป (RT) ทำให้การตรวจเช็คการตั้งค่าใหม่ 2. ปั๊มทำงานไม่ตรงตามเงื่อนไขที่ต้องการ     • กรณีทำงานเป็น Dry Run          - Motor 3 Phase ให้ตั้งโหมดการทำงานเป็น PF         - Motor 1 Phase ให้ตั้งโหมดการทำงานเป็น A     • การตั้งค่า Function         - ค่าเป็น Dry Run ให้ตั้งเป็น Un Under         - ค่าเป็น Load Protection ให้ตั้งเป็น Ov Over     • ในการทดสอบการใช้งานน้ำขาด ค่า Setpoing ต้องต่ำกว่าค่าที่ใช้งานจริง ลองดูที่ค่า PI ที่ใช้งานปกติ **รวมเทคนิคง่าย ๆ การแก้ปัญหาที่พบบ่อย CLICK

Image Alternative text
แนะนำการต่อใช้งานและการติดตั้ง Slim Relay Module (รีเลย์โมดูลแบบบาง)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      รีเลย์ (Relay) คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ตัดต่อวงจรไฟฟ้าประเภทเดียวกับสวิตช์เปิด-ปิด (ON-OFF) โดยใช้หลักการการควบคุมการทำงานด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งปกติถ้ามีการจ่ายไฟเข้าที่ตัวรีเลย์ (Relay) จะทำให้ขดลวดเหนี่ยวนำหน้าสัมผัสติดกัน จึงมีสถานะปิดวงจร (Closed Circuit) แต่ถ้าหากไม่มีการจ่ายไฟให้ รีเลย์ (Relay) ขดลวดเหนี่ยวนำหน้าสัมผัสไม่ติดกัน จะมีสถานะเปิดวงจร (Open Circuit) นั่นเอง ซึ่งผู้อ่านสามารถพบเห็นรีเลย์ (Relay) ได้โดยทั่วไปในงานอุตสาหกรรม ตั้งแต่รีเลย์ (Relay) ขนาดเล็กที่ใช้ในงานอิเล็กทรอนิกส์ทั่วไปหรืองานประกอบตู้คอนโทรล จนถึงรีเลย์ (Relay) ขนาดใหญ่ที่ใช้ในงานไฟฟ้าแรงสูง โดยรีเลย์ (Relay) มีตัวอย่างดังนี้ ตัวอย่างรีเลย์ (Relay) ที่สามารถพบโดยทั่วไปในงานอุตสาหกรรม      จากตัวอย่างรีเลย์ (Relay) ตามตารางด้านบนดังกล่าว เป็นรีเลย์ (Relay) ที่มีหน้าสัมผัสหรือจุดเชื่อมต่อมาตรฐานดังนี้      • จุดต่อ NC (Normal Close) หรือ สถานะหน้าสัมผัสปกติปิด กล่าวคือ หากยังไม่จ่ายไฟให้ขดลวดเหนี่ยวนำหน้าสัมผัสจะติดกัน โดยทั่วไปเรามักต่อจุดนี้เข้ากับอุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องการให้ทำงานตลอดเวลา      • จุดต่อ NO (Normal Open) หรือ สถานะหน้าสัมผัสปกติเปิด กล่าวคือ หากยังไม่จ่ายไฟให้ขดลวดเหนี่ยวนำหน้าสัมผัสจะไม่ติดกัน โดยทั่วไปเรามักต่อจุดนี้เข้ากับอุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องการควบคุมการเปิดปิด เช่น โคมไฟ เป็นต้น      • จุดต่อ C คือ Common คือจุดร่วมที่ต่อมาจากแหล่งจ่ายไฟ      โดยหากผู้ใช้งานต้องการใช้รีเลย์ (Relay) ในการตัด-ต่อจำนวนหลาย ๆ ตัวในงานคอนโทรลต่าง ๆ ในระบบ ผู้ใช้ต้องสั่งซื้อรีเลย์ (Relay) พร้อม Socket ตามจำนวนที่ต้องการ ซึ่งอาจทำให้พื้นที่ในการติดตั้งไม่เพียงพอและการ Wiring สายที่อาจจะมีปัญหา      ดังนั้นทางผู้บรรยายจึงขอแนะนำชุดรีเลย์ (Relay) ที่มีจำนวนหลาย ๆ ตัวเรียงในบอร์ดเพื่อติดตั้งแบบ Socket ยึดราง (Din rail) ชุดเดียวกัน เรียกว่า รีเลย์โมดูล (Relay Module),  รีเลย์โมดูลแบบบาง (Slim Relay Module) ซึ่งทางผู้บรรยายได้กล่าวไว้ในบทความหัวข้อ “มาทำความรู้จักกับ Relay Module” และ “ข้อดีของการใช้รีเลย์โมดูล (Relay Module)” ที่ผ่านมาแล้วนั้น โดยในวันนี้ทางผู้บรรยายจะขอบรรยายถึงการต่อใช้งานและการติดตั้งในหัวข้อ “แนะนำการต่อใช้งานและการติดตั้ง Slim Relay Module (รีเลย์โมดูลแบบบาง)” เพื่อช่วยลดปัญหาในการ Wiring สายที่ยุ่งยาก ซับซ้อน และช่วยประหยัดพื้นที่ในตู้คอนโทรล, ตู้ไฟ, ตู้ MDB ฯลฯ      รีเลย์โมดูลแบบบาง (Slim Relay Module) มีขนาดเล็กกะทัดรัด ที่ประกอบด้วย Relay จำนวนหลาย ๆ ตัวต่ออยู่ในชุดเดียวกัน สำหรับรับ-ส่งสัญญาณ AC/DC Control Voltage แบบไม่ต้องต่อร่วมกับ Socket โดย Input จะเป็น Common ร่วม ใช้สายเพียง 1 เส้น ประเภท NPN หรือ PNP มีให้เลือกหลายรุ่นตามจำนวน Relay ที่ใช้งาน ตั้งแต่ 2, 4, 8, 12, 16 Relay เป็นต้น หน้าคอนแทคแบบ SPDT (Single Pole Double Throw) มี LED แสดงสถานะการทำงานของ Relay แต่ละตัว มีขนาดกะทัดรัด ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งบนราง Din Rail ได้เลย โดยรีเลย์โมดูล (Relay Module) มีโครงสร้างลักษณะทั่วไป คือ Input และ Output จะถูกแยกกันคนละฝั่ง จึงง่ายต่อการเข้าสายไฟ ทำให้ประหยัดเวลา ลดค่าใช้จ่าย และง่ายต่อการตรวจสอบหรือซ่อมบำรุง ตัวอย่าง รีเลย์โมดูลแบบบาง (Slim Relay Module) รุ่น RPL-Series ยี่ห้อ “Primus” รีเลย์โมดูล (Relay Module) 1 ชุด มีรีเลย์จำนวน 2 รีเลย์ รีเลย์โมดูล (Relay Module) 1 ชุด มีรีเลย์จำนวน 4 รีเลย์ รีเลย์โมดูล (Relay Module) 1 ชุด มีรีเลย์จำนวน 6 รีเลย์ รีเลย์โมดูล (Relay Module) 1 ชุด มีรีเลย์จำนวน 8 รีเลย์ รีเลย์โมดูล (Relay Module) 1 ชุด มีรีเลย์จำนวน 12 รีเลย์ รีเลย์โมดูล (Relay Module) 1 ชุด มีรีเลย์จำนวน 16 รีเลย์      จากคุณสมบัติที่ผู้บรรยายได้กล่าวไว้ข้างต้นของรีเลย์โมดูลแบบบาง (Slim Relay Module) รุ่น RPL-Series ยี่ห้อ “Primus” ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการต่อใช้งานรีเลย์โมดูลแบบบาง (Slim Relay Module) ดังนี้      ตัวอย่างการต่อใช้งานรีเลย์โมดูลแบบบาง (Slim Relay Module) ยี่ห้อ “Primus”      ข้อดีของการต่อใช้งานและการติดตั้ง Slim Relay Module (รีเลย์โมดูลแบบบาง)      • ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้ง      • การ Wiring สายไม่ยุ่งยาก และตรวจสอบหรือซ่อมบำรุงได้ง่าย      • ประหยัดสาย เนื่องจาก Input เป็น Common ร่วม ใช้สายเพียง 1 เส้น โดยจากวงจรการต่อเป็นการต่อแบบ PNP และ NPN      • ประหยัดงบประมาณ      • เหมาะสำหรับงาน PLC เนื่องจาก I/O ของ PLC มีราคาค่อนข้างสูง ถ้านำไปต่อกับวงจรคอนโทรลโดยตรงจะทำให้ Relay ของ PLC เสียหายได้      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน ใช้ในการคอนโทรลเครื่องจักรที่มีจำนวนของ I/O เยอะ ใช้เป็น Relay ภายนอกของโมดูล PLC เพื่อยืดอายุหน้าคอนแทค PLC Relay Module รีเลย์โมดูล Relay Unit Interface Switching Power Supply PLC , Programmable Logic Controller Terminal Block Signal Tower Light โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
ปัญหาที่พบบ่อยของ Digital Tachometer รุ่น CM-001 / CM-001-L

CM-001 / CM-001-L : Digital Tachometer คุณสมบัติ • CM-001 เป็นเครื่องวัดความเร็วรอบ (RPM) • CM-001-L เป็นเครื่องวัดความเร็วรอบและระยะทาง • รับอินพุตจาก Photo Switch, Proximity, NPN, PNP • สามารถตั้ง Pulse ต่อรอบได้ 1-199 Pulse เพื่อความละเอียด • สามารถวัดระยะทางต่อนาทีได้ โดยใช้หน่วยความยาวเซนติเมตรต่อนาที และเมตรต่อนาที สำหรับรุ่น CM-001-L ปัญหาที่พบบ่อยในการใช้งาน 1. วัดค่าความเร็วรอบไม่ตรง 2. วัดค่าไม่ขึ้น วิธีการตรวจเช็คและแนวทางแก้ไข 1. วัดค่าความเร็วรอบไม่ตรง     ให้ทำการตรวจเช็คการตั้งค่าจำนวน Pulse 2. วัดค่าไม่ขึ้น     ให้ทำการตรวจเช็คความเร็วในการหมุนของมอเตอร์ ถ้าเอาไปต่อผ่านเฟืองหรือมู่เล่ย์ให้ทำการเพิ่มจำนวน Pulse ต่อรอบเพิ่ม เพื่อเพิ่มจำนวนการตัดผ่านหน้า Sensor **รวมเทคนิคง่าย ๆ การแก้ปัญหาที่พบบ่อย CLICK

Image Alternative text
ประโยชน์ของ PT100 (RTD) Titanium

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      Temperature Sensor หรือ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ คือ เซ็นเซอร์สำหรับงานวัดอุณหภูมิที่นิยมใช้ในงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้แก่ เทอร์โมคัปเปิล (Thermocouple), อาร์ทีดี (RTD), เทอร์มิสเตอร์ (Thermistor) ชนิด NTC, PTC เป็นต้น ซึ่งแต่ละประเภทมีหลักการทำงานและวัตถุประสงค์การวัดอุณหภูมิที่แตกต่างกันออกไป แต่โดยส่วนใหญ่ในงานอุตสาหกรรม จะใช้เป็นเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) ประเภทเทอร์โมคัปเปิล (Thermocouple) และอาร์ทีดี (RTD Pt100) เนื่องจากมีย่านการวัดอุณหภูมิที่กว้างและมีความแม่นยำ ทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดี สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นประเภทอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมเกษตรกรรม อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมแก้ว อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ เป็นต้น ซึ่ง Temperature Sensor หรือ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิมีรูปแบบการเลือกติดตั้งใช้งานดังนี้ Thermocouple & RTD (PT100) แบบหัวกะโหลก Thermocouple & RTD (PT100) แบบออกสาย แบบเกลียว แบบเกลียวยกคอ (Sleeve) แบบหน้าแปลน Ferrule แบบออกสาย แบบรัดท่อ แบบเขี้ยวล็อค      โดยในวันนี้ผู้บรรยายจะขอนำเสนอเกี่ยวกับ PT100/RTD (Resistance Temperature Detector) เป็นทรานสดิวเซอร์วัดอุณหภูมิ (Transducer Temperature) ที่อาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานไฟฟ้าของวัสดุ ต้องอาศัยแหล่งจ่ายไฟภายนอกป้อนให้กับวงจร โดยค่าความต้านทานไฟฟ้าของวัสดุและอุณหภูมิแสดงความสัมพันธ์แบบแปรผันตรง โดยเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นค่าความต้านทานของโลหะจะมีค่าสูงขึ้น ในการใช้งานควรเลือกใช้วัสดุที่ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานสูง เพราะเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิไปเพียงเล็กน้อยค่าความต้านทานของโลหะจะเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน วัสดุที่นิยมใช้ทำ RTD ได้แก่ แพลตทินั่ม (Platinum) โดย RTD (PT100) มีโครงสร้างและส่วนประกอบดังนี้ โครงสร้างของอาร์ทีดี (RTD Pt100) ส่วนประกอบของอาร์ทีดี (RTD Pt100)      จากโครงสร้างและส่วนประกอบของ RTD (PT100) ในการเลือกวัสดุของท่อ (Tube) ให้เหมาะกับหน้างาน เพื่อทำให้หัววัดอุณหภูมิสามารถใช้งานได้ยาวนานมากขึ้นเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ ซึ่งในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการเลือกวัสดุของเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) ซึ่งทางผู้บรรยายได้เคยกล่าวไว้แล้วในหัวข้อ “การเลือกวัสดุของ Thermocouple & RTD (PT100) ให้เหมาะสมกับอุณหภูมิการใช้งาน” ซึ่งผู้อ่านน่าจะพอทราบคุณสมบัติได้พอสังเขป โดยวันนี้จะขอยกตัวอย่างเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) ชนิด RTD (PT100) โดยการใช้วัสดุท่อแบบไทเทเนียม (Titanium) ในรูปแบบหัวกะโหลกแบบ Bakelite ในหัวข้อ “ประโยชน์ของ PT100 (RTD) Titanium” ว่ามีประโยชน์และเหมาะกับการใช้งานกับประเภทใด โดยขอยกตัวอย่าง PT100 รุ่น TSP-08 โดยสามารถอธิบายส่วนประกอบของ Titanium PT100 : RTD (Resistance Temperature Detector) ได้ดังนี้ ตัวอย่าง PT100 : RTD (Resistance Temperature Detector) โดยการใช้วัสดุท่อแบบ Titanium และหัวกะโหลกแบบ Bakelite รูปตัวอย่างของ RTD (PT100) โดยการใช้วัสดุท่อแบบ Titanium และหัวกะโหลกแบบ Bakelite   • ส่วนท่อ (Probe) • ส่วนหัวกะโหลก Bakelite วัสดุท่อ Titanium กรณีใช้งานที่มีความชื้นสูง มีฝุ่น ละอองน้ำ เป็นต้น      จากรูปตารางข้างต้นสามารถอธิบายส่วนประกอบของ Titanium PT100 : RTD (Resistance Temperature Detector) ได้ดังนี้      • ส่วนท่อ (Probe)         วัสดุทำจากไทเทเนียม (Titanium) คือ โลหะที่มีความแข็งกว่าอลูมิเนียม 2 เท่า มีสีเทาขาวเนื้อเงา น้ำหนักเบากว่าเหล็ก 50% ไม่เกิดสนิม ทนต่อสารกัดกร่อนประเภท สารเคมี ได้ดี      • ส่วนหัวกะโหลก         วัสดุทำจาก Bakelite           - หัวกะโหลกแบบ Bakelite หัวเล็ก ใช้ในกรณีที่อุณหภูมิที่ติดตั้งสูงและมีพวกละอองน้ำ (ไม่ขึ้นสนิม)           - หัวกะโหลกแบบ Bakelite หัวใหญ่ ใช้อุณหภูมิสูง และใส่ Transmitter หรือ แบบ Double (2 หัว)      จากคุณสมบัติเบื้องต้นของ Titanium PT100 : RTD (Resistance Temperature Detector) เหมาะสำหรับอุตสาหกรรมพลาสติก ยาง ถุงยาง ถุงมือยาง อาหารและยา เป็นต้น สามารถยกตัวอย่างการใช้งานได้ดังนี้      ยกตัวอย่างการติดตั้งใช้งาน Titanium PT100 : RTD (Resistance Temperature Detector) กับงานน้ำยาสารเคมีในโรงงานถุงมือยาง      จากตัวอย่างการใช้งาน Titanium PT100 : RTD (Resistance Temperature Detector) ร่วมกับ Temperature Controller สามารถบอกถึงประโยชน์ของการใช้ Titanium PT100 : RTD (Resistance Temperature Detector) ได้ดังนี้      • แกนโพรบและเกลียว วัสดุทำจาก Titanium ทนกับการกัดกร่อนของสารเคมี น้ำหนักเบา ทนอุณหภูมิได้สูง      • หัวกะโหลกทำจาก Bakelite ทนกับการกัดกร่อนของสารเคมีและละอองน้ำ      • เหมาะกับการใช้งานในอุตสาหกรรมสารเคมีเข้มข้นสูง      • ย่านวัดอุณหภูมิ -200 ถึง 600 ํC      • สามารถต่อใช้งานได้กับอุปกรณ์หลากหลาย เช่น Temp Controller, Indicator, Recorder, PLC เป็นต้น      นอกจากนี้ยังมีวัสดุท่ออื่น ๆ โดยการลือกวัสดุของเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) ชนิด Thermocouple & RTD (PT100) ให้เหมาะสมกับอุณหภูมิการใช้งานมีความสำคัญอย่างมากจากข้อมูลดังต่อไปนี้ ตัวอย่างวัสดุท่อแต่ละประเภท • SUS304 เหมาะกับการใช้งานวัดอุณหภูมิอากาศหรือของเหลวทั่วไป เช่น ของเหลวที่ไม่มีสารเคมี, วัดอากาศอุณหภูมิห้อง นิยมใช้กับทั้ง Thermocouple และ RTD SUS316 เหมาะกับการใช้งานวัดอุณหภูมิอากาศหรือของเหลวที่มีกรดทางเคมี หรือเป็นเกรดที่มีปฏิกิริยากับกรดน้อย นิยมใช้กับทั้ง Thermocouple และ RTD • SUS316L เหมาะกับการใช้งานวัดอุณหภูมิสำหรับงานอาหาร/ยา นิยมใช้กับทั้ง Thermocouple และ RTD • SUS310S แกน Stainless เป็นเหล็กกล้าไร้สนิมที่ทนการผุกร่อนในสภาวะที่มีการกัดกร่อนที่สูง ทนต่อแรงอัดและกรดด่างที่เป็นสารเคมีได้ดี ทนต่ออุณหภูมิที่จุดหลอมละลายได้สูงถึง 1100 ํC   • Sheath Thermocouple SUS316 (หรือ Mineral Insulated Thermocouple) คือ เทอร์โมคัปเปิลแบบที่ตัว Metal Sheath ผลิตสำเร็จรูป มีขนาดแกนเล็กและทนอุณหภูมิสูงกว่าแบบธรรมดามาก นิยมใช้ในกรณีอุณหภูมิกลางถึงสูงและต้องการความคงทน มีความยืดหยุ่นในการติดตั้งที่สามารถดัดได้หน้างานเพื่อให้เข้ากับลักษณะของงาน     • Inconel (Ni-CoNel) 600 จะสามารถทนความร้อนได้สูงถึง 1200 ํC ทนต่อการกัดกร่อนจากสารประกอบคลอไรด์ สารละลายด่างที่ทุกอุณหภูมิและความเข้มข้น ทนต่อกรดของสารกลุ่มฮาโลเจน, คลอรีน และกรดไฮโดรคลอริก (เหมาะสำหรับ Type K, R, S) • Ceramic Alumina (วัสดุจากเซรามิค) นิยมใช้ในการวัดอุณหภูมิสูง เป็นวัสดุผสมทำมาจากดินอะลูมิน่า ทำให้วัดอุณหภูมิสูงได้ดีถึง 1600 ํC (เหมาะสำหรับ Type R, S)   • Silicon Carbide Tube (ซิลิกอนคาร์ไบด์) นิยมใช้ในการวัดอุณหภูมิสูง เหมาะสำหรับงานหลอมอลูมิเนียม วัดอุณหภูมิได้สูงและทนการกัดกร่อนได้ดีมาก วัดอุณหภูมิได้สูงถึง 1500 ํC (เหมาะสำหรับ Type R, S)     ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน อุตาหกรรมยาและเครื่องสำอาง โรงงานผลิตถุงยางอนามัย/ถุงมือยาง อุตสาหกรรมโรงชุบสารเคมี Digital Temperature Controller PID Control Function Digital Temperature Controller Solid State Relay Heater Digital Temperature Indicator โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
ปัญหาที่พบบ่อยของ Digital Voltage Protection Relay รุ่น VPM-D-Series

VPM-D-Series :  Digital Voltage Protection Relay   คุณสมบัติ • เป็นอุปกรณ์ป้องกันสำหรับไฟตก-ไฟเกิน, เฟสขาดหาย, เฟสสลับ, เฟสไม่สมดุล • มี Memory จำสถานะของสาเหตุการตัดวงจรครั้งสุดท้ายซึ่งสามารถเรียกดูได้ • มีให้เลือกใช้งานแบบมี Auxillary Supply และไม่มี Auxillary Supply • การแสดงผลเป็นตัวเลขแรงดันใช้งานปกติ ทำให้ง่ายต่อการดูค่าเมื่อเทียบกับยี่ห้ออื่น   ปัญหาที่พบบ่อยในการใช้งาน 1. หน้าจอแสดงสถานะ OV 2. หน้าจอแสดงสถานะ UV 3. หน้าจอแสดงสถานะ UBL 4. หน้าจอแสดงสถานะ PS 5. หน้าจอแสดงสถานะ PL   วิธีการตรวจเช็คและแนวทางแก้ไข   1. หน้าจอแสดงสถานะ OV     เป็นการแจ้งเตือน Over Voltage แสดงว่าเกิดแรงดันเกินกว่าค่าที่ตั้งไว้ ทำให้วงจรตัดการทำงาน   2. หน้าจอแสดงสถานะ UV     เป็นการแจ้งเตือน Under Voltage แสดงว่าเกิดแรงดันต่ำกว่าค่าที่ตั้งไว้ ทำให้ตัดการทำงานของวงจร   3. หน้าจอแสดงสถานะ UBL     เป็นการแจ้งเตือน Unbalance Voltage แสดงว่าค่า % Unbalance ระหว่างเฟสเกินค่าที่ตั้งไว้   4. หน้าจอแสดงสถานะ PS     เป็นการแจ้งเตือน Phase Sequence ไม่ถูกต้อง ทำให้การตรวจเช็คลำดับเฟสใหม่   5. หน้าจอแสดงสถานะ PL     เป็นการแจ้งเตือน Phase Loss หรือเฟสขาดหายในระบบ ทำให้ตรวจเช็คระบบแรงดันว่ามาครบหรือไม่   **รวมเทคนิคง่าย ๆ การแก้ปัญหาที่พบบ่อย CLICK

Image Alternative text
6 คำถามสำคัญในการเลือกซื้อ PLC+HMI มีอะไรบ้าง?

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      PLC (พีแอลซี) โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอลโทรลเลอร์ (Programmable Logic Controller) หรือ PLC+HMI เป็นการทำงานร่วมกัน โดยใช้ PLC เป็นตัวควบคุม และ HMI เป็นตัวสื่อสารระหว่างผู้ใช้งาน (Human) กับระบบ Module PLC หรือจอแสดงผลต่าง ๆ โดยให้ PLC สั่งงานไปที่อุปกรณ์ต่าง ๆ และเครื่องจักร (Machine) เพื่อควบคุมให้ทำงานแบบอัตโนมัติด้วยโปรแกรม โดยมีการนำ PLC มาใช้งานในอุตสาหกรรมที่มีการผลิตสินค้าประเภทต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมการผลิต อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ ฯลฯ นิยมใช้ PLC มาใช้งานเพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องจักรหรือระบบโซลูชั่นต่าง ๆ แบบอัตโนมัติ โดยผู้อ่านสามารถศึกษาข้อมูลเบื้องต้นได้ในบทความที่ผู้บรรยายได้กล่าวไว้ในหัวข้อที่ผ่านมา อาทิเช่น “PLC+HMI คืออะไร?” “ทำไมต้องใช้ PLC+HMI ในการควบคุมเครื่องจักรในยุคปัจจุบัน” “ข้อควรระวังในการติดตั้ง PLC (Programmable Logic Control) และการ Wiring สาย” และ “PLC ON CLOUD ได้อย่างไร?”        ซึ่งในปัจจุบันพีแอลซี (PLC) มีหลากหลายรุ่นและยี่ห้อที่แตกต่างกันเพื่อการเลือกใช้ให้เหมาะสม เช่น PLC ที่มีขนาดเล็ก (Micro PLC) ที่มีจำนวน Input/Output ไม่มากนัก (ราคาถูก) และ Vision PLC ที่มีการแสดงผลหน้าจอแบบ Graphic, LCD หรือ PLC แบบใช้ปุ่มกด (Keypad Switch), PLC แบบ Touch Screen เป็นต้น โดย PLC แต่ละรุ่นจะมีจำนวนอินพุต (Input) และเอาต์พุต (Output) ของอุปกรณ์ที่สามารถทำการเชื่อมต่อกับ PLC ได้แตกต่างกัน รวมถึงพอร์ตที่ใช้ในการสื่อสารต่าง ๆ กับ PLC ด้วย ยกตัวอย่างประเภทของ PLC (Programmable Logic Controller) ยี่ห้อ Unitronics        ประเภทของ PLC (Programmable Logic Controller) ยี่ห้อ Unitronics   UniStream PLC Vision PLC Samba PLC Jazz & M91 PLC UniStream PLC เน้นกับงานที่ใช้กราฟฟิค หน้าจอแบบ Touch Screen Vision PLC สามารถเก็บข้อมูล (Data Logger) ได้ภายในตัวของ PLC เลย หน้าจอแบบ Touch Screen Samba PLC สามารถเก็บข้อมูล (Data Logger) ได้ภายในตัวของ PLC เลย หน้าจอแบบ Touch Screen (ราคาถูก) Jazz and M91 PLC มีขนาดเล็กกะทัดรัด (Micro PLC) หน้าจอแบบ LCD        จากตัวอย่างประเภทของ PLC (Programmable Logic Controller) ยี่ห้อ Unitronics อาจทำให้ผู้ใช้งานเกิความลังเลในการเลือก PLC แต่ละรูปแบบ หรือเลือกรุ่นที่ไม่เหมาะสมกับการใช้งาน เนื่องจากปัจจุบัน PLC นั้นมีหลากหลายรุ่น/ยี่ห้อ สามารถหาซื้อได้โดยทั่วไป มีทั้งมือหนึ่งและมือสอง ตามงบประมาณและงานที่ได้ออกแบบไว้ แล้วผู้ใช้งานจะเลือกใช้งาน PLC รูปแบบไหนกัน วันนี้ทางผู้บรรยายจะมาแนะนำวิธีการเลือกซื้อ PLC ในหัวข้อ "6 คำถามสำคัญในการเลือกซื้อ PLC+HMI มีอะไรบ้าง?" เพื่อทำให้ผู้ใช้หรือผู้ที่กำลังมองหา PLC+HMI เลือกรุ่นได้เหมาะสมกับงาน ตอบโจทย์ในเรื่องของคุณสมบัติ และประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากที่สุด โดยมีคำถามสำหรับการวิเคราะห์และพิจารณาเลือกรุ่นที่เหมาะสม ดังนี้      1. ประเภท Input และ Output ที่ต้องการ?      2. จำนวน Input และ Output ที่ต้องการ?      3. งบประมาณของงาน?      4. ฟังก์ชั่นที่ต้องการ อาทิ การรับ-ส่งข้อมูลแบบ Online, มีหน้าจอ / ไม่มีหน้าจอแสดงผล, ขยาย In/Out ฯลฯ      5. Power Supply?      6. ความจุของหน่วยความจำที่ต้องการ?        1. ประเภท Input และ Output ที่ต้องการ : ผู้ใช้มีความจำเป็นต้องระบุประเภทของ Input และ Output ให้ชัดเจน เพื่อทำการเลือกรุ่น PLC+HMI ให้ตรงกับความต้องการ โดยประเภทของ Input และ Output ของ PLC+HMI อาทิ Input : Digital NPN/PNP, High-Speed Counter, Analog, Temperature Measurement และ Output : Relay, High Speed/PWM, Analog เป็นต้น        ยกตัวอย่างประเภท Input และ Output ของ PLC+HMI ของรุ่น VISION 350/430/130 ยี่ห้อ UNITRONICS        2. จำนวน Input และ Output ที่ต้องการ : ผู้ใช้มีความจำเป็นต้องระบุจำนวนของ Input และ Output ให้ชัดเจน หรือ Spare จำนวนสำรองไว้สำหรับอนาคต โดยปัจจุบัน PLC+HMI มีรุ่นสำหรับ Fixed Input, Output และรุ่นสำหรับขยาย Input, Output ที่เรียกว่า Expansion Modules ดังนั้นการระบุจำนวน Input และ Output จึงเป็นสิ่งจำเป็น        ยกตัวอย่างจำนวน Input และ Output ของ PLC+HMI ของรุ่น VISION 350/430/130 ยี่ห้อ UNITRONICS        3. ฟังก์ชั่นที่ต้องการ อาทิ การรับ-ส่งข้อมูลแบบ Online, มีหน้าจอแสดงผล / ไม่มีหน้าจอแสดงผล, ขยาย In/Out ฯลฯ : ปัจจุบันฟังก์ชั่นการรับ-ส่งข้อมูลแบบ Online มีความสำคัญมาก เนื่องจากระบบการผลิตขนาดใหญ่จำเป็นต้องมีการตรวจสอบหาข้อผิดพลาดของกระบวนการผลิตอยู่ตลอดเวลา เพื่อลดปัญหาการขัดข้องในสายพานการผลิต วิธีที่นิยมคือการมอนิเตอร์ระบบควบคุมต่าง ๆ แบบตลอดเวลาเพื่อวิเคราะห์สาเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นหรือเพื่อบำรุงรักษาเชิงป้องกัน ตัว PLC+MHI ในปัจจุบันจึงต้องสามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายและสามารถมอนิเตอร์ระบบได้จากศูนย์กลางทั้งระยะใกล้คือภายในโรงงาน อาทิ การสื่อสารผ่าน WiFi เป็นต้น หรือระยะไกลด้วย Could นอกจากนี้ผู้ใช้สามารถระบุความต้องการเพิ่มเติม อาทิ ต้องการมีหน้าจอแสดงผลพร้อมระบบ Touch Screen เพื่อระบุเลือกรุ่นให้ตรงกับความต้องการ        ยกตัวอย่างฟังก์ชั่นการรับ-ส่งข้อมูลแบบ Online ของ PLC+HMI ยี่ห้อ UNITRONICS        4. งบประมาณของงาน : ผู้ใช้สามารถควบคุมงบประมาณที่มีจำกัดได้ เนื่องจาก PLC+HMI ยี่ห้อ UNITRONIC มี PLC+HMI มีให้เลือกที่หลากหลายเพื่อให้สอดคล้องกับราคาและคุณสมบัติที่ต้องการ   UniStream PLC Vision PLC Samba PLC Jazz & M91 PLC UniStream PLC เน้นกับงานที่ใช้กราฟฟิค หน้าจอแบบ Touch Screen Vision PLC สามารถเก็บข้อมูล (Data Logger) ได้ภายในตัวของ PLC เลย หน้าจอแบบ Touch Screen Samba PLC สามารถเก็บข้อมูล (Data Logger) ได้ภายในตัวของ PLC เลย หน้าจอแบบ Touch Screen (ราคาถูก) Jazz and M91 PLC มีขนาดเล็กกะทัดรัด (Micro PLC) หน้าจอแบบ LCD      5. Power Supply : การใช้แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) ผู้ใช้ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยและความสะดวกในการปฎิบัติงานเป็นหลัก โดยทั่วไป PLC+HMI จะสามารถรับแหล่งจ่ายไฟได้ 2 แบบ คือ แบบ 85-220 VAC และ 24VDC และอีกส่วนที่สำคัญคือไฟด้านอินพุตและเอาต์พุต โดยสามารถรับไฟได้สองแบบเช่นเดียวกันคือไฟ DC และ AC ทั้งนี้ผู้ใช้งานต้องพิจารณาความต้องการ เพื่อให้งานสอดคล้องกับคุณสมบัติของ PLC+HMI      6. ความจุของหน่วยความจำที่ต้องการ : เป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้ใช้งานจะต้องระบุ เพื่อเลือกรุ่นให้เหมาะสมกับงาน        ยกตัวอย่าง PLC+HMI ยี่ห้อ UNITRONIC        ตัวอย่างส่วนประกอบหลักของ PLC+HMI ยี่ห้อ UNITRONICS        จากข้อมูล 6 คำถามสำคัญในการเลือกซื้อ PLC+HMI มีอะไรบ้าง? ที่ได้แนะนำไปเบื้องต้นนั้น ผู้บรรยายเชื่อว่าผู้ที่กำลังมองหา PLC+HMI และเลือกรุ่นไม่ถูกจะสามารถพิจารณาเลือกรุ่นได้เหมาะสมอย่างแน่นอน ทั้งนี้ผู้บรรยายขอยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน PLC+HMI กับการเชื่อมต่อผ่าน Could  ดังนี้        ยกตัวอย่างการต่อใช้งาน PLC+HMI กับการเชื่อมต่อผ่าน Could        จากรูปเป็นตัวอย่างของการเชื่อมตัวผ่าน HMI UNISTREAM โดยตัวอย่างนี้เราจะใช้ Function MQTT ในการเชื่อมต่อไปยัง Cloud ซึ่ง MQTT เป็นรูปแบบการในการสื่อผ่าน IoT โดยติดต่อกับ Internet เพราะอินเทอเน็ตทำให้อุปกรณ์ IoT ต่าง ๆ สามารถติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ MQTT (Message Queue Telemetry Transport) ซึ่งพัฒนาต่อมาจาก TCP/IP อีกทีนั้นได้กลายเป็น Protocol มาตรฐานสำหรับระบบ IoT และเนื่องจากมันสร้างมาจาก TCP/IP นั้นทำให้ MQTT ประกันว่าข้อมูลที่ส่งกันระหว่างอุปกรณ์ IoT        Config Broker      หน้าต่างการ Config Broker ซึ่งจะเป็นผู้ให้บริการ Cloud ซึ่งมีแบบฟรีและเสียค่าใช้จ่าย แล้วแต่วัตถุประสงค์ของลูกค้า        Config Publication    หน้าต่างการ Config Publication คือการกำหนรูปแบบข้อมูลที่ต้องการส่ง ไม่ว่าจะเป็นค่าตัวเลขหรือข้อความ โดยเราจะต้องกำหนดด้วยว่าข้อมูลที่เราส่งไปนั้นเราจะส่งไปใน Topic ไหน ๆ        Config Subscription      คือตัวรับข้อมูลจาก Topic ที่อยู่ใน Broker เรียกว่าการ Subscribe Topic คือหัวเรื่องที่เราต้องการรับส่งข้อมูลระหว่าง Publisher กับ Subscriber        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   เครื่องควบคุมระบบความชื้น เครื่องควบคุมชุดเครื่องพิมพ์ เครื่องเช็คน้ำหนักกระสอบปาล์ม   Signal Transmitter SPDT Relay Module รีเลย์โมดูล Relay Module Relay Unit Interface Switching Power Supply Target Counter โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
ปัญหาที่พบบ่อยของ Digital Temperature Controller รุ่น TTM-i4N-R-AB

TTM-i4N-R-AB : Digital Temperature Controller   คุณสมบัติ • เป็นอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิแบบดิจิตอล รับอินพุตเป็น TC และ RTD • สามารถควบคุมได้ทั้งแบบ ON/OFF, PID และ Fuzzy Control • มีเอาต์พุตให้เลือกทั้ง Relay และ SSR • มี 2 Alarm Relay • มีผลตอบสนองต่อความไวในด้าน Control 250ms • สามารถตั้งค่า Range Time เพื่อช่วยในช่วงอุรหภูมิเริ่มต้นจนถึง Setpoint โดยสามารถตั้งค่าต่อนาทีได้   ปัญหาที่พบบ่อยในการใช้งาน   1. หน้าจอขึ้นขีดบน   2. หน้าจอขึ้นขีดล่าง   3. หน้าจอขึ้น Error 0 4. หน้าจอขึ้น Error 1 5. หน้าจอขึ้น Error 2 6. ค่า Parameter ภายในโดน LOC   วิธีการตรวจเช็คและแนวทางแก้ไข   1. หน้าจอขึ้นขีดบน     เป็นการบ่งบอกถึงค่าที่วัดได้เกินค่า Upper Limit ให้ทำการตั้งค่า SLH ให้สูงขึ้น   2. หน้าจอขึ้นขีดล่าง      เป็นการบ่งบอกถึงค่าที่วัดได้ต่ำกว่าค่า Lower Limit ให้ทำการตั้งค่า SLL ปกติจะเท่ากับ 0   3. หน้าจอขึ้น Error 0     แสดงว่าหน่วยความจำของ Controller มีปัญหา   4. หน้าจอขึ้น Error 1     แสดงว่าการตั้งค่า Type Input ไม่ถูกต้อง ให้ทำการตรวจเช็คค่า Inp   5. หน้าจอขึ้น Error 2     แสดงว่าการ Auto Turning ไม่เสร็จ หรือหาค่า Auto ไม่ได้ ให้ทำการตั้งค่า At ใหม่   6. ค่า Parameter ภายในโดน LOC     ให้ทำการตรวจเช็คการตั้งค่า LOC ปกติจะเท่ากับ 0       **กรณีค่า SV ไม่โชว์หรือค่า Set 1, Set 2, Set 3 หาย ให้ทำการกด Mode ค้าง 10 วินาที และกด Fu กับ Mode ทำให้ Program จะแสดงค่า SV ON/OFF, Set 1 ON/OFF, Set 2 ON/OFF, Set 3 ON/OFF**   **รวมเทคนิคง่าย ๆ การแก้ปัญหาที่พบบ่อย CLICK

Image Alternative text
KM-07-A-2 : Multifunction Power Meter

KM-07-A-2 : Multifunction Power Meter   คุณสมบัติ • เป็นอุปกรณ์วัดค่าพลังงานไฟฟ้า สามารถวัดค่า V, A, Ha, Watt, Var, Va, PF, kWh, Peak Demand, THD • สามารถตั้งค่า PT Ratio และ CT Ratio ได้ • มี Analog Output 4-20mA และ Pulse • สามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์เพื่อเก็บค่าพลังงานไฟฟ้าผ่านพอร์ท RS-485   ปัญหาที่พบ 1. ค่ากระแสไม่ตรง 2. ค่าแรงดันไม่ตรง 3. ค่า PF ติดลบ 4. ค่า kW ติดลบ 5. เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ไม่ได้   วิธีการตรวจเช็คและการแก้ไข   1. ค่ากระแสไม่ตรง     ให้ทำการตรวจเช็คการตั้งค่า CTr (CT ratio) ว่าถูกต้องหรือไม่         เช่น  CT 100/5                 CTr = 100 ÷ 5                 CTr = 20   2. ค่าแรงดันไม่ตรง     ให้ทำการตรวจเช็คการตั้งค่า PTr (PT ratio) ว่าถูกต้องหรือไม่         เช่น PT ratio = 1.0 กรณีแรงดันปกติ   3. ค่า PF ติดลบ     แสดงว่าลำดับเฟสไม่ตรง ให้ทำการตรวจเช็คลำดับเฟส R, S, T ว่าตรงหรือไม่ ถ้าตรง Pf จะเป็นค่าบวก   4. ค่า kW ติดลบ     แสดงว่าคล้องสาย CT ผิดเฟส หรือต่อสาย CT ผิดขั้ว ให้ทำการตรวจเช็คการเข้าสาย CT ว่าถูกต้อง ค่า kW จะต้องเป็นค่าบวก   5. เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ไม่ได้     ให้ทำการตรวจเช็ค Parameter Com ตั้งค่า Address Board Count   **รวมเทคนิคง่าย ๆ การแก้ปัญหาที่พบบ่อย CLICK

Image Alternative text
OEE (Overall Equipment Effectiveness) มีประโยชน์อย่างไรต่ออุตสาหกรรมการผลิต?

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      OEE ย่อมาจาก Overall Equipment Effectiveness คือ การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรซึ่งเป็นวิธีการวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ในอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ หรือประสิทธิภาพในการบำรุงรักษาเครื่องจักร ความสามารถของผู้ปฎิบัติงาน รวมถึงการบริหารจัดการได้อย่างดี โดย OEE (Overall Equipment Effectiveness) ออกแบบมาเพื่อช่วยในการติดตามตรวจสอบและวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น มี Report พร้อมทั้งเก็บข้อมูลเรียกดูย้อนหลังได้ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และยังสามารถรู้ถึงสาเหตุของความสูญเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการ คือ สามารถแยกประเภทการสูญเสียและรายละเอียดของสาเหตุนั้น ทำให้สามารถที่จะปรับปรุง ลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้องและเป็นระบบ        ทำไมถึงต้องมีระบบ OEE (Overall Equipment Effectiveness) สำหรับอุตสาหกรรมที่มีการผลิตสินค้าจะต้องมีการวัดประสิทธิผลการทำงานของเครื่องจักร เพื่อเป็นระบบติดตามผลและแจ้งเตือนผู้ปฏิบัติงานทันทีเมื่อมีปัญหา ทำให้รู้เร็ว ผลิตได้เร็ว ลดการสูญเสีย เพิ่มผลผลิต แสดงผล Real Time ผ่านระบบ Online ต่าง ๆ โดย OEE (Overall Equipment Effectiveness) จะมีสูตรการคำนวณดังนี้        การคำนวณ OEE (Overall Equipment Effectiveness) จะมีส่วนประกอบหลัก 3 อย่าง คือ      1. ลดช่วงเวลาที่ไม่ได้ทำการผลิต (Unproductive Time) = Availability      2. ลดระยะเวลาที่ใช้ผลิต (Cycle Time) = Performance      3. ลดของเสีย/เศษที่เกิดจากการผลิต (Waste/Scrap) = Quality        สำหรับการคำนวณ OEE ทางผู้ประกอบการจำเป็นต้องแยก Factor ย่อย ๆ ของ OEE ออกมาก่อน แล้วจึงนำไปเข้าสูตรการคำนวณ OEE โดยมีรายละเอียดดังนี้   OEE (Overall Equipment Effectiveness) % OEE (Overall Equipment Effectiveness) มีค่าสูง OEE % = Availability % x Performance % x Quality % OEE มีค่าสูง = ต้นทุนการผลิตต่ำ        OEE (Overall Equipment Effectiveness) ถือเป็นอีกหนึ่งการคำนวณสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลาย และภายในการคำนวณนั้นยังสามารถแบ่งส่วนประกอบย่อยๆ ออกมา เพื่อตรวจสอบการทำงานได้อีกด้วย ซึ่งการใช้ OEE ให้ดีที่สุดนั้น ต้องมีการเก็บข้อมูลที่ครบถ้วน และการคำนวณที่ถูกต้อง        ความหมายของสูตรคำนวณ OEE (Overall Equipment Effectiveness)      • Availability % (อัตราการเดินเครื่อง) คือ ความพร้อมของเครื่องจักรในการทำงาน ระยะเวลาที่เครื่องจักรหยุด (Downtime Loss) มีสาเหตุมาจากเครื่องจักรขัดข้อง (Breakdowns) การปรับแต่งเครื่องจักร (Setup/Adjustments) หรือการจัดการกระบวนการการทำงานที่ไม่ดี (Management)      • Performance % (ประสิทธิภาพการเดินเครื่อง) คือ สมรรถนะการทำงานของเครื่องจักร การสูญเสียประสิทธิภาพ (Performance Loss)  มีสาเหตุมาจากการหยุดเล็กน้อย การเดินเครื่องตัวเปล่า (Minor Stoppage and Idling Losses) และการสูญเสียความเร็วของเครื่องจักร (Speed Losses)      • Quality % (อัตราคุณภาพ) คือ ความสามารถในการผลิตของดีตรงตามข้อกำหนดของเครื่องจักร การสูญเสียด้านคุณภาพ (Quality Loss) มีสาเหตุมาจากความสูญเสียเนื่องจากชิ้นงานเสีย (Defects) งานซ่อม (Rework) และความสูญเสียช่วงเริ่มต้นการผลิต (Start up Loss)        เครื่องจักรที่ดีไม่ใช่เป็นเพียงแค่เครื่องจักรที่ไม่เสีย เปิดสวิตช์เมื่อใดทำงานได้เมื่อนั้น หากแต่ต้องเป็นเครื่องจักรที่เปิดขึ้นมาแล้วทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ คือ เดินเครื่องได้เต็มกำลังความสามารถ แต่ถ้าเครื่องจักรใช้งานได้ตลอดเวลาและเดินเครื่องได้เต็มกำลัง แต่ชิ้นงานที่ผลิตออกมาไม่มีคุณภาพก็คงไม่มีประโยชน์อะไร ดังนั้นเรื่องคุณภาพของงานที่ออกมาจึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จะใช้ในการพิจารณาเครื่องจักร และที่สำคัญเครื่องจักรที่ดีต้องใช้งานได้อย่างปลอดภัย ดังนั้นในวันนี้ผู้บรรยายจะยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้เครื่องแสดงผลการนับจำนวนแบบดิจิตอลหรือป้ายแสดงจำนวนสินค้า (Target Counter หรือ Target Board) ในงานการผลิต โดยแสดงผลแบบ Real Time        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เครื่องแสดงผลการนับจำนวนแบบดิจิตอลหรือป้ายแสดงจำนวนสินค้า (Target Counter/ Target Board) ในงานการผลิต ด้วยระบบ OEE (Overall Equipment Effectiveness)      จากตัวอย่างการประยุกต์ใช้เครื่องแสดงผลการนับจำนวนแบบดิจิตอลหรือป้ายแสดงจำนวนสินค้า (Target Counter/Target Board) ในงานการผลิต ด้วยระบบ OEE (Overall Equipment Effectiveness) โดยมีสูตรการคำนวณดังนี้   OEE แสดงค่าการคำนวณ = Aty. x  Perf. x Qty.        Availability % (อัตราการเดินเครื่อง) แสดงค่าคำนวณ           =  เวลาที่ต้องการทำงาน (เวลารวมของแต่ละกะ) - เวลาที่หยุดทำงาน (Down Time)                                                                                                                                       เวลาที่ต้องการทำงาน (เวลารวมของแต่ละกะ)        Performance % (ประสิทธิภาพการเดินเครื่อง) แสดงค่าคำนวณ =              เวลามาตรฐาน (Cycle Time) - จำนวนชิ้นที่ผลิตได้ (Actual)                                                                                                                          เวลาที่ต้องการทำงาน (เวลารวมของแต่ละกะ) - เวลาที่หยุดทำงาน (Down Time)        Quality % (อัตราคุณภาพ) แสดงค่าคำนวณ                                 =  จำนวนชิ้นงานทั้งหมด (Actual) - จำนวนชิ้นงานเสีย (NG)                                                                                                                                   จำนวนชิ้นงานทั้งหมด (Actual)        ผู้ใช้สามารถจัดทำ Report และวิเคราะห์วางแผนการปรับปรุงประสิทธิภาพได้จากตารางดังนี้   • การเก็บข้อมูลสามารถ Export ออกมาเป็น Report ได้ เช่น OEE Report รายงานการหยุดทำงานและรายงานคุณภาพ • วิเคราะห์และวางแผนเพื่อเพิ่มความสามารถในการปรับปรุงประสิทธิภาพ ระบุปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีการวัดผลของการปรับปรุงกระบวนการ          ข้อดีของการประยุกต์ใช้ OEE (Overall Equipment Effectiveness) ในอุตสาหกรรมการผลิตดังนี้      • สามารถรวบรวมข้อมูลการควบคุมเครื่องจักรของพื้นที่การผลิตทั้งหมด ส่งผลให้มีแผนการ Maintenance ที่ชัดเจน ไม่ส่งผลกระทบกับการผลิตสินค้า      • พนักงานทราบข้อมูลในการผลิตที่ชัดเจน เช่น Plan, Actual, Diff, Eff (%), Time, Master Plan เป็นต้น      • พนักงานทราบสถานะการทำงานของเครื่องจักร (ความผิดปกติต่าง ๆ Downtime Breaktime Changeover) และค่า OEE รวมถึงสถานะการสั่งงาน การติดตามคุณภาพ และสาเหตุการหยุดทำงานได้แบบ Real Time      • ข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการผลิตจะถูกเก็บไว้ใน Computer Server สามาถเรียกดูได้ไม่สูญหาย      • สามารถ Export ออกมาเป็น Report ได้ เช่น OEE Report รายงานการหยุดทำงานและรายงานคุณภาพ      • วิเคราะห์และวางแผนเพื่อเพิ่มความสามารถในการปรับปรุงประสิทธิภาพ ระบุปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีการวัดผลของการปรับปรุงกระบวนการ      • สามารถดูข้อมูลต่าง ๆ ผ่านระบบออนไลน์ได้ โดยผ่านอุปกรณ์เสริม V-BOX        นอกจากจะมีข้อดีแล้ว ยังมีข้อที่ควรระวังในการใช้ระบบ OEE (Overall Equipment Effectiveness) ดังนี้        ข้อควรระวังในการใช้ OEE (Overall Equipment Effectiveness)      • ควรมีการเก็บข้อมูลที่ครบถ้วน แม่นยำ      • ทุกการคำนวณในโรงงานอุตสาหกรรมจะต้องมีการจดบันทึกที่ครบถ้วน ถูกต้อง หากขาดตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งจะทำให้ข้อมูลในการคำนวณน้อยเกินไป ทำให้ผลการคำนวณออกมาไม่ตรงกับความเป็นจริง เกิดผลเสียในระยะยาว      • หน่วยการคำนวณต้องเหมือนกัน หากข้อใดข้อหนึ่งใช้ตัวแปรด้านเวลาเป็นหน่วยชั่วโมง ตัวแปรด้านเวลาของข้อที่เหลือจำเป็นต้องใช้หน่วยชั่วโมงเช่นกัน หากเป็นนาทีก็ต้องเปลี่ยนให้เป็นนาทีเหมือนกัน ไม่เช่นนั้นข้อมูลที่คำนวณได้จะผิดเพี้ยน      • สำหรับการทำงานจริงแล้ว นอกจากการคำนวณด้วยบุคคล การใช้เครื่องมือประเภท IoT ในการเก็บข้อมูลการทำงาน ก่อนทำผ่านการประมวลผลด้วยโปรแกรมคำนวณค่าสำหรับโรงงาน อาจจะเป็นวิธีที่ดีกว่า ง่ายกว่า ลดความผิดพลาดได้มากกว่า เหมาะสำหรับการทำงานในระยะยาวเป็นอย่างยิ่ง        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   ตรวจสอบประสิทธิภาพของไลน์ผลิตอิเล็กทรอนิกส์ ตรวจสอบประสิทธิภาพของไลน์ผลิตกระเบื้องแผ่น ตรวจสอบประสิทธิภาพของไลน์ผลิตรถยนต์ สามารถดูข้อมูลประสิทธิภาพการผลิตผ่านระบบออนไลน์ได้   Digital Indicator,Universal Input Digital Indicator With Alarm Unit Digital Preset Counter เครื่องนับจํานวนแบบดิจิตอล Digital Counter เครื่องนับจํานวนแบบดิจิตอล Proximity Switch Photoelectric Sensor โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
TVM-94N-1-A / TVM-94N-2-A : Digital AC/DC Volt Meter

TVM-94N-1-A / TVM-94N-2-A : Digital AC/DC Volt Meter คุณสมบัติ • เป็นอุปกรณ์วัดและแสดงผลค่าแรงดันไฟฟ้า AC 5-500VAC (สำหรับรุ่น TVM-94N-1-A) • สามารถตั้งค่าตัวคูณ PT Ratio เมื่อใช้ในระบบ High Voltage • มี Alarm Relay สำหรับตั้งเงื่อนไข High, Low Alarm ได้ • มี Option Transfer Output 4-20mA และ 0-10Vdc โดยสามารถเลือกเป็น Direct และ Inverse ได้ • สามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่าน Option RS485 เพื่อแสดงผลและเก็บค่าข้อมูลผ่าน Software ปัญหาที่พบบ่อยในการใช้งาน 1. หน้าจอขึ้นขีดบน 2. หน้าจอขึ้นขีดล่าง 3. ค่าที่แสดงผลหน้าจอไม่ตรง 4. ค่า Transfer ออกไม่ตรง 5. ค่าแรงดันมีการกระเพื่อมหรือแกว่ง วิธีการตรวจเช็คและแนวทางแก้ไข 1. หน้าจอขึ้นขีดบน     วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็คค่า SLH High Limit Setting ว่าตั้งค่าไว้ต่ำเกินหรือไม่ 2. หน้าจอขึ้นขีดล่าง     วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็คว่ามีสัญญาณแรงดันไฟฟ้าหรือไม่ และตรวจเช็ค SLL Low Limit Setting ว่าตั้งค่าไว้สูงหรือไม่ ปกติจะตั้งไว้ที่ 0 3. ค่าที่แสดงผลหน้าจอไม่ตรง     วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็คค่าตัวคูณหรือค่า PT Ratio ว่าตั้งไว้ถูกต้องหรือไม่ 4. ค่า Transfer ออกไม่ตรง     วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็คค่า tLH High Limit Transfer Output และ tLl Low Limit Transfer Output ว่าตั้งค่าใช้ถูกต้องหรือไม่ 5. ค่าแรงดันมีการกระเพื่อมหรือแกว่ง     วิธีการแก้ไข : ให้ทำการปรับค่า Filter Input ให้เพิ่มขึ้น PUF เพื่อลดการแกว่งของสัญญาณแรงดัน **รวมเทคนิคง่าย ๆ การแก้ปัญหาที่พบบ่อย CLICK

Image Alternative text
CM-004N / CM-006N : Digital Indicator

CM-004N / CM-006N : Digital Indicator   คุณสมบัติ • CM-004N เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่รับสัญญาณอินพุต 0-10VDC, 0-20mA และ 4-20mA • CM-006N เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่รับสัญญาณอินพุตจาก Thermocouple Type K, J และ RTD (PT100) • มี 1 Alarm Relay สามารถตั้ง Function การทำงาน High, Low และ High-Low Alarm ได้ • มีแหล่งจ่าย 12VDC สำหรับเลี้ยงอุปกรณ์ Trums Duser (CM-004N)   ปัญหาที่พบบ่อยในการใช้งาน 1. ค่าที่อ่านได้ไม่ตรง 2. อ่านค่า Input ไม่ได้ 3. ค่าที่ได้แกว่ง หรือวิ่งขึ้น-วิ่งลง   วิธีตรวจเช็คและการแก้ไข   1. อ่านค่าไม่ตรง     ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากการตั้งรหัส Type Input ผิด ให้ทำการตรวจเช็คการตั้ง Type Input   2. อ่านค่า Input ไม่ได้     มักเกิดจากสาเหตุของการต่อขั้ว Input ผิดตำแหน่ง ในกรณี CM-004N ให้ดู Terminal ของการต่อ 4-20mA กับ 0-10V ในกรณี CM-006N ให้ดู Terminal TC บวก-ลบ และ RTD ในส่วนของการต่อสัญญาณ A B b   3. ค่าที่ได้แกว่ง หรือวิ่งขึ้น-วิ่งลง     • ให้ตรวจเช็คสายสัญญาณว่าจุดต่อหลวมหรือมีสายขาดหรือไม่     • ให้ปรับค่า LPF Filter Inputเพิ่มขึ้น ในกรณีรับ Input Analog (CM-004N)   **รวมเทคนิคง่าย ๆ การแก้ปัญหาที่พบบ่อย CLICK

Image Alternative text
ดูค่าอุณหภูมิออนไลน์ด้วย Cloud ผ่านมือถือ (Smart Phone)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      การวัดอุณหภูมิในงานอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมพลาสติก ฯลฯ โดยส่วนใหญ่จะใช้อุปกรณ์เครื่องมือวัดอุณหภูมิที่มีทั้งแบบสัมผัสและแบบไม่สัมผัสกับชิ้นงาน เช่น เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ Thermocouple, RTD (PT100), เกจวัดอุณหภูมิ (Pressure Gauge), เทอร์โมมิเตอร์ (Thermometer), เครื่องวัดอุณหภูมิพื้นผิวแบบไม่สัมผัส (Infrared Thermometer) หรือใช้งานเครื่องบันทึกอุณหภูมิ-ความชื้น Data Logger เป็นต้น เพื่อนำอุณหภูมิที่วัดได้ไปควบคุมในกระบวนการต่อไป        ปัจจุบันในงานการวัดอุณหภูมิ (Measurement Temperature) ได้มีการพัฒนาขึ้นเป็นอย่างมากโดยการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยเพื่อให้ง่ายต่อการดูค่าผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น Computer หรืออุปกรณ์สื่อสารที่สามารถดูค่าแบบ Online ด้วยระบบ Cloud ผ่านมือถือ Smart Phone ได้ โดยระบบ Cloud คือ เครื่องมือหรือการบริการ System Host (ระบบที่เป็นตัวกลางไว้ควบคุม System อื่น ๆ) ต่าง ๆ ผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ในการเก็บข้อมูล มีความเสถียรสูงและมีมาตรฐานเรื่องความปลอดภัย สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์เครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าได้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานในงานอุตสาหกรรม ช่วยให้เราสามารถรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปบริหารจัดการการผลิตให้ทำงานได้มีประสิทธิภาพตามที่คาดหวังและสามารถผลิตสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น        โดยวันนี้ผู้บรรยายจะขอยกตัวอย่างเครื่องควบคุมอุณหภูมิและแสดงผลแบบดิจิตอลสำหรับตู้แช่หรือเครื่องทำความเย็น (Digital Refrigerator Controller) หรือ Defrost Controller รุ่น DEF-01-Series ยี่ห้อ Primus ที่สามารถดูค่าอุณหภูมิผ่านมือถือ (Smart Phone) ได้ โดยมีรายละเอียดดังนี้   เครื่องควบคุมอุณหภูมิและแสดงผลแบบดิจิตอลสำหรับตู้แช่หรือเครื่องทำความเย็น (Digital Refrigerator Controller) หรือ Defrost Controller : DEF-01-Series การแสดงผลหน้าจอ        เครื่องควบคุมอุณหภูมิและแสดงผลแบบดิจิตอลสำหรับตู้แช่หรือเครื่องทำความเย็น (Defrost Controller) หรือ Defrost Controller รุ่น DEF-01-Series เป็นเครื่องควบคุมอุณหภูมิสำหรับตู้แช่และระบบทำความเย็นที่มีขนาดเล็ก (Mini Temperature Controller) ช่วยให้ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งในตู้แช่หรือเครื่องทำความเย็นที่มีฟังก์ชั่นการละลายน้ำแข็ง (Defrost) ทำหน้าที่ในการประมวลผลสัญญาณ (Input) ที่รับเข้ามาจากตัวเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) ประเภท Thermistor ชนิด NTC, PTC ในตัวเดียวกัน ซึ่งสามารถวัดอุณหภูมิในย่านติดลบได้ดี (-40 ถึง 130 ํ C) โดยการควบคุมสามารถควบคุมได้ทั้งระบบความร้อนและระบบควบคุมความเย็น ดังนี้        ระบบความร้อน คือ Output ของ DEF-01-Series จะทำงานเมื่ออุณหภูมิต่ำกว่า Setpoint และควบคุมแบบระบบความเย็น คือ Output จะทำงานเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า Setpoint มี Alarm ให้เลือกหลายแบบตามต้องการ โดยสามารถตั้ง Alarm แบบ Deviation คือ วิ่งตาม Setpoint หรือแบบ Absolute คือตั้งค่าอุณหภูมิตามที่เรากำหนด ซึ่งมี 4 Relay Output สำหรับควบคุม Compressor พัดลม, การละลายน้ำแข็ง (Defrost) และ Auxiliary Relay        ระบบควบคุมควมเย็น DEF-01-Series จะทำการวัดอุณหภูมิเพื่อควบคุมการทำงานของ Compressor Relay เพื่อสั่งให้ Compressor ทำงานจนอุณหภูมิลดลงถึงค่า Setpoint ที่ตั้งไว้และจะกลับมาทำงานอีกครั้งเมื่ออุณหภูมิสูงกว่าค่า Setpoint + Hysteresis หากตั้งค่าการทำงานเป็น Heat Mode จะทำให้ Compressor Relay ทำงานตรงข้ามกัน        นอกจากนี้ เครื่องควบคุมอุณหภูมิและแสดงผลแบบดิจิตอลสำหรับตู้แช่หรือเครื่องทำความเย็น (Defrost Controller) หรือ Defrost Controller รุ่น DEF-01-Series ยังมีระบบการตรวจเช็คแรงดันไฟฟ้ากรณีไฟตก (Under Voltage), ไฟเกิน (Over Voltage) เพื่อป้องกันคอมเพรสเซอร์หรือระบบทำความเย็นเสียหาย พร้อมทั้งแสดงผลเมื่อแรงดันสูงกว่าหรือต่ำกว่าค่าที่ตั้งไว้สำหรับการแจ้งเตือนได้        ในกรณีที่ต้องการอ่านค่าอุณหภูมิผ่านมือถือ (Smart Phone) หรือเก็บข้อมูลและเชื่อมโยงข้อมูลเหล่านั้นคือ IoT Gateway ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้      • เครื่องวัดและแสดงผลค่าอุณหภูมิ (Temperature Controller) ที่จะต้องมี Port ติดต่อสื่อสาร อาทิ RS-485 Modbus RTU Protocol เป็นต้น      • Platform Cloud ในรูปแบบของ Web SCADA เพื่อดูค่าผ่าน Computer/Laptop, Smart phone/Tablet      • V-BOX เพื่อแปลงพอร์ทสื่อสาร อาทิ RS-485/RS-422 หรือ RS-232 ส่งค่าขึ้น Platform Cloud        ซึ่งในปัจจุบันเราอาศัยระบบทำความเย็น (Refrigerator System) มาประยุกต์ใช้ในงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การผลิตอาหาร, การเก็บรักษาอาหาร, การแช่แข็ง, การทำความเย็นในตู้แช่, ห้องเย็น, โรงน้ำแข็ง เป็นต้น ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานของเครื่องควบคุมอุณหภูมิและแสดงผลแบบดิจิตอลสำหรับตู้แช่หรือเครื่องทำความเย็น (Digital Refrigerator Controller) หรือ Defrost Controller รุ่น DEF-01-Series ยี่ห้อ Primus ดูค่าอุณหภูมิผ่านมือถือ (Smart Phone) โดยต่อร่วมกับอุปกรณ์เสริม Dongle Module for RS-485 Expansion Module (DEF-01-A3) ดังนี้        เครื่องควบคุมอุณหภูมิและแสดงผลแบบดิจิตอลสำหรับตู้แช่หรือเครื่องทำความเย็น (Digital Refrigerator Controller หรือ Defrost Controller) รุ่น DEF-01-Series ยี่ห้อ Primus ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานของเครื่องควบคุมอุณหภูมิและแสดงผลแบบดิจิตอลสำหรับตู้แช่หรือเครื่องทำความเย็น (Digital Refrigerator Controller) หรือ Defrost Controller รุ่น DEF-01-Series ยี่ห้อ Primus ดูค่าอุณหภูมิผ่านมือถือ (Smart Phone)        จากตัวอย่างสามารถอธิบายหลักการได้ดังนี้      การใช้งานควบคุมความเย็นให้ห้อง Cool Room โดยมี DEF-01-F3 เป็น Controller และใช้ DEF-01-A3 เป็น Port RS-485 เพื่อให้ V-BOX เข้ามาดึงข้อมูลและส่งค่าไปยังระบบ Could โดยผู้ใช้งานสามารถทราบถึงข้อมูลจากที่ไหนก็ได้แค่มี Ethernet ดูผ่าน Smart phone และ PC ได้      จากการยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานของเครื่องควบคุมอุณหภูมิและแสดงผลแบบดิจิตอลสำหรับตู้แช่หรือเครื่องทำความเย็น (Digital Refrigerator Controller) หรือ Defrost Controller ดูค่าอุณหภูมิผ่านมือถือ (Smart Phone) ได้ สามารถบอกถึงข้อดีได้ ดังนี้      • สามารถดูค่า Monitor ผ่าน Smart Phone ได้      • สามารถคาดการณ์และวางแผนการผลิตได้      • ช่วยเก็บข้อมูลทำ Report ผ่านระบบ Could      • ไม่ต้องใช้คอมพิวเตอร์คอยจัดเก็บข้อมูล        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   งานห้องเย็น งานคลังวัตถุดิบ งานห้องเย็นเคลื่อนที่   Digital Temperature Controller Digital Temperature Controller PID Control Function Temperature Coefficient เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ Single Phase Solid State Relay 3 Phase Solid State Relay โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
KM-18-1 : Data Logger for Energy Meter

KM-18-1 : Data Logger for Energy Meter   คุณสมบัติ • เป็นอุปกรณ์อ่านค่าและบันทึกข้อมูลจาก Meter ผ่าน RS485 MODBUS RTU • สามารถต่อพ่วงกับอุปกรณ์ได้สูงสุด 32 ตัว • มีการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของ Text File และสามารถเปิดไฟล์ผ่าน Notepad และ Excel ได้ • สามารถเก็บข้อมูลผ่าน SD Card ได้สูงสุด 16 GB   ปัญหาที่พบบ่อยในการใช้งาน 1. เชื่อมต่อไม่ได้ 2. ค่าที่อ่านได้ไม่ครบตามจำนวนอุปกรณ์ที่ Link 3. ค่าไม่ตรง/เวลาไม่ตรง 4. ข้อมูลขาดหาย   วิธีการตรวจเช็คและแนวทางแก้ไข   1. เชื่อมต่อไม่ได้    • ให้ทำการตรวจเช็คสายสัญญาณ 485 ในขั้ว A และ B ว่าต่อตรงกันหรือไม่    • ให้ทำการตรวจเช็ค Address ของอุปกรณ์แต่ละตัวว่าซ้ำกันหรือไม่    • ให้ทำการตรวจเช็คชื่ออุปกรณ์ที่ทำการเชื่อมต่อว่ารหัสตรงตามรุ่นหรือไม่   2. ค่าที่อ่านได้ไม่ครบตามจำนวนอุปกรณ์ที่ Link    • กรณีที่ Link อุปกรณ์มากกว่า 1 ตัว ต้องทำการตั้งค่า Setting ID ของแต่ละตัว    • ต้องตั้งค่า Slave Address ไม่ให้ซ้ำกัน       เช่น มีมิเตอร์ 3 ตัว เป็น KM-07-THD               ID_01               Slave Address 001               Meter KM-07-THD                 ID_02               Slave Address 002               Meter KM-07-THD                 ID_03               Slave Address 003               Meter KM-07-THD   3. ค่าไม่ตรง/เวลาไม่ตรง    • ให้ทำการตรวจเช็คการตั้งค่า Time and Date ว่าตรงกันหรือไม่   4. ข้อมูลที่อ่านได้ขาดหาย    • ให้ทำการตรวจเช็คความไว้ในการรับส่งข้อมูลของการสื่อสาร Baud Rate ว่าตั้งใช้เร็วเกินไปหรือไม่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจำนวนอุปกรณ์ที่ทำการ Link    • ให้ตรวจเช็คระยะเวลาในการอ่านข้อมูลและบันทึกข้อมูลว่าเร็วเกินไปหรือไม่ Logging & Sampling   **รวมเทคนิคง่าย ๆ การแก้ปัญหาที่พบบ่อย CLICK

Image Alternative text
ข้อดีของการติดตั้งพัดลมในตู้คอนโทรลไฟฟ้า (Cabinet Filter Fans)

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      พัดลมระบายความร้อนในตู้คอนโทรลไฟฟ้า, ตู้สวิทบอร์ด (MDB) หรือโดยทั่วไปเรียกว่า Cabinet Filter Fans เป็นการนำพัดลมประเภท Axial Fans มาประกอบเข้ากับหน้ากากพร้อมแผ่นกรองฝุ่น (Filter) เพื่อทำหน้าที่ระบายความร้อนภายในตู้คอนโทรล ปัจจุบันในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีกระบวนการผลิตสินค้า ทำให้มีความร้อน ฝุ่น ควัน มลพิษต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายในกระบวนการ หรืออาจเกิดจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติจากภายนอก ทำให้มีผลโดยตรงต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าเครื่องมือวัดต่าง ๆในตู้คอนโทรล อาทิ หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer), อินเวอร์เตอร์ (Inverter), พีแอลซี (PLC), เบรกเกอร์ (Breaker) เป็นต้น และเมื่ออุปกรณ์มีการทำงานเป็นระยะเวลาติดต่อกันจะทำให้อุปกรณ์มีการสะสมความร้อน ซึ่งความร้อนเหล่านี้จะสะสมภายในตู้ และเมื่อไม่มีการระบายความร้อนที่ดีจะทำให้อุณหภูมิภายในตู้สูงขึ้นและเกิดความร้อนสะสม ซึ่งจะส่งผลให้อุปกรณ์ดังกล่าวจะเริ่มมีปัญหา ทำงานบกพร่อง ทำให้กระบวนการผลิตเกิดความเสียหายได้      ซึ่งจำเป็นต้องมีการจัดการที่ดีในการระบายอากาศ เพื่อการถ่ายเทความร้อนให้มีประสิทธิภาพและช่วยให้อุปกรณ์ไฟฟ้าเครื่องมือวัดต่าง ๆในตู้คอนโทรล หรือเครื่องจักรมีอายุการใช้งานที่ยืนยาวมากขึ้น โดยการใช้พัดลมระบายความร้อนในตู้คอนโทรล (Cabinet Filter Fans) ซึ่งเราได้มีการนำเสนอกันไปแล้วในหัวข้อ วิธียืดอายุการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในตู้ไฟฟ้า, ตู้คอนโทรล, ตู้สวิทช์บอร์ด (MDB) ซึ่งพัดลมระบายความร้อนในตู้คอนโทรลไฟฟ้า (Cabinet Filter Fans), ตู้สวิทช์บอร์ด (MDB) ที่พบเห็นโดยมากในงานอุตสาหกรรม ยกตัวอย่างพัดลม Cabinet Filter Fans รุ่น PMV-Series และ PMV-N-Series ยี่ห้อ PRIMUS ดังนี้      พัดลมระบายความร้อนในตู้คอนโทรลไฟฟ้า (Cabinet Filter Fans), ตู้สวิทช์บอร์ด (MDB) ตัวอย่างพัดลมระบายความร้อนในตู้คอนโทรลไฟฟ้า (Cabinet Filter Fans), ตู้สวิทช์บอร์ด (MDB) รุ่น PMV-Series และรุ่น PMV-N-Series ยี่ห้อ PRIMUS   PMV-N-Series ยี่ห้อ PRIMUS PMV-Series ยี่ห้อ PRIMUS      ดังนั้นวิธีการแก้ปัญหาการเกิดความร้อนสะสมภายในตู้คอนโทรลไฟฟ้า, ตู้สวิทช์บอร์ด (MDB) เพื่อยืดอายุการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในตู้ไฟฟ้า, ตู้คอนโทรล, ตู้สวิทช์บอร์ด (MDB) ให้ยาวนานยิ่งขึ้นและไม่ส่งผลกระทบความเสียหายต่อกระบวนการผลิต อีกหนึ่งวิธีที่ผู้บรรยายขอนำเสนอในข้อดีของการติดตั้งพัดลมระบายความร้อน (Filter Fans) ภายใต้หัวข้อ "ข้อดีของการติดตั้งพัดลมในตู้คอนโทรลไฟฟ้า (Cabinet Filter Fans)" โดยการยกตัวอย่างการติดตั้งพัดลมระบายความร้อนสำหรับตู้ไฟฟ้า, ตู้คอนโทรล (Cabinet Filter Fans) รุ่น PMV-N-Series ยี่ห้อ PRIMUS ดังต่อไปนี้ ตัวอย่างการติดตั้งพัดลมระบายความร้อนสำหรับตู้ไฟฟ้า, ตู้คอนโทรล (Cabinet Filter Fans) รุ่น PMV-N-Series ยี่ห้อ PRIMUS      สำหรับพัดลมระบายความร้อนสำหรับตู้ไฟฟ้า, ตู้คอนโทรล (Cabinet Filter Fans) รุ่น PMV-N-Series ยี่ห้อ PRIMUS ที่ถูกออกแบบให้มีรูปทรงที่สวยงามและบาง ทำให้ติดตั้งแนบเรียบไปกับผิวหน้าตู้ (ตัวอย่างรูป A) และสามารถติดตั้งไต้ง่าย, รวดเร็วและแข็งแรงด้วย Clips Lock ด้วยการออกแบบอย่างเหมาะสม โดยใช้เนื้อพลาสติกที่มีความยืดหยุ่น ไม่ใช้เนื้อเดียวกันกับโครงสร้างของพัดลม ซึ่งแข็งไม่เหมาะกับการยึดเกาะ ทำให้พัดลมไม่สั่นขณะทำงาน (ตัวอย่างรูป B) ในการเปลี่ยนแผ่นกรองฝุ่นสามารถทำได้ง่ายด้วยการออกแบบของ Flap-Open โดยเพียงดึงหน้ากากออกเพื่อเปลี่ยนแผ่นกรองฝุ่นและดันหน้ากากเข้ากลับที่เดิม (ตัวอย่างรูป C) ขั้วต่อไฟแบบ Spring Terminal ทำให้การ Wiring สาย เป็นไปได้ง่ายและรวดเร็ว (ตัวอย่างรูป D) โดยปกติลักษณะการถ่ายเทความร้อน อากาศที่มีความร้อนจะลอยตัวจากด้านล่างขึ้นด้านบน ดังนั้นพัดลมระบายความร้อนสำหรับตู้ไฟฟ้า, ตู้คอนโทรล (Cabinet Filter Fans) รุ่น PMV-N-Series ยี่ห้อ PRIMUS ควรจะติดตั้งบริเวณด้านบนของตู้ โดยจะมีหน้ากากพร้อมแผ่นกรองฝุ่น (PMF-N-Series) ติดตัวอยู่บริเวณด้านล่าง เพื่อเป็นช่องทางให้อากาศจากภายนอกเข้ามาภายในตู้ (ตัวอย่างรูป E)      นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์เสริม Thermostat แบบ Analog รุ่น CMA-001 และแบบ Digital รุ่น CMA-002 สำหรับตัดต่อพัดลมเพื่อยืดอายุการใช้งานและประหยัดพลังงานไฟฟ้า โดยทำหน้าที่สั่งให้พัดลมทำงานเฉพาะในเวลาที่มีอุณหภูมิสูงเท่านั้น เพื่อให้พัดลมไม่ต้องทำงานตลอดเวลา      ตัวอย่างการต่อใช้งานพัดลมระบายความร้อนสำหรับตู้ไฟฟ้า, ตู้คอนโทรล (Cabinet Filter Fans)      จากการบรรยายการติดตั้งพัดลมระบายความร้อนสำหรับตู้ไฟฟ้า, ตู้คอนโทรล (Cabinet Filter Fans) ข้างต้นนั้น สามารถบอกถึงประโยชน์และข้อดีของการติดตั้งพัดลม (Cabinet Filter Fans) ที่ตู้คอนโทรลไฟฟ้า ได้ดังนี้      ข้อดีของการติดตั้งพัดลมในตู้คอนโทรลไฟฟ้า (Cabinet Filter Fans)        • ช่วยยืดอายุการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ภายในตู้ไฟฟ้า, ตู้คอนโทรล        • ติดตั้งได้ง่ายสำหรับรุ่น PMV-N-Series ใช้ Clip Lock โดยไม่ต้องยึดน็อต        • สามารถเปลี่ยนแผ่นกรองฝุ่นได้ง่าย เพียงตึงหน้ากากออกเพื่อเปลี่ยนแผ่นกรองฝุ่นและดันหน้ากากเข้ากลับที่เดิม สำหรับรุ่น PMV-N-Series        • ทำให้ตู้ไฟฟ้า, ตู้คอนโทรล มีความสวยงามเนื่องจากหน้ากากถูกออกแบบให้มีรูปทรงที่สวยงามและบาง ทำให้ติดตั้งแนบเรียบไปกับผิวหน้าตู้สำหรับรุ่น PMV-N-Series        • มีทั้งรุ่นดูดลมเข้า (A) และเป่าลมออก (P)        • การออกแบบให้หน้ากากมีรูปทรงที่สวยงามและสามารถนำไปใช้ให้เข้ากับสีของตู้คอนโทรลได้ โดยมีให้เลือกโทนสีที่ต้องการได้ 3 โทนสี ดังนี้           1. สีเทาขาว (RAL7035 รุ่น Standard)           2. สีครีม (RAL7032)           3. สีเทา      ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน ตู้คอนโทรล Inverter ใช้ PMV25 เป่าลมเข้าตู้ ใช้ PMB02 ดูดลมร้อนออก ตู้คอนโทรลเครื่องจักร ใช้ PMV205NP ดูดความร้อนออก Analog Thermostat Digital Thermostat Air Conditioner for Control Boxes Heater ฮีตเตอร์ Signal Tower Light โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
ปัญหาที่พบบ่อยของอุปกรณ์วัดและแสดงผลค่ากระแส รุ่น TCM-94N-1-A

TCM-94N-1-A : Digital Ac Meter (True RMS)   คุณสมบัติ 1. เป็นอุปกรณ์วัดและแสดงผลค่ากระแส โดยใช้งานร่วมกับ CT ย่านการวัด 0-5A 2. มี Alarm Relay สำหรับตั้งเงื่อนไข High Low Alarm ได้  3. มี Option Transfer Output 4-20mA และ 0-10VDC โดยสามารถเลือกตั้งค่าเป็น Direct และ Inverse ได้ 4. สามารถเชื่อมต่อกับ Computer ผ่าน RS-485 เพื่อแสดงผลข้อมูล โดยใช้งานร่วมกับ Software   ปัญหาที่พบบ่อยในการใช้งาน   1. หน้าจอขึ้น Sbr   2. หน้าจอขึ้นขีดบน   3. หน้าจอขึ้นขีดล่าง   4. ค่าที่แสดงผลหน้าจอไม่ตรง 5. ค่า Transfer Output ออกไม่ตรง 6. ตรวจเช็คว่าค่าที่แสดงผลหน้าจอตรงและถูกต้องหรือไม่   วิธีการตรวจเช็คและแนวทางแก้ไข   1. หน้าจอขึ้น Sbr วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็ค Input ว่ามีกระแสส่งมาจาก CT หรือไม่ ปกติจะมีสัญญาณ 0-5AAC   2. หน้าจอขึ้นขีดบน วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็คค่า SLH High Limit Setting ว่าตั้งค่าไว้ต่ำเกินไปหรือไม่ ปกติจะต้องตั้งไว้สูงกว่ากระแสสตาร์ทและกระแสใช้งาน   3. หน้าจอขึ้นขีดล่าง วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็คค่า SLL Low Limit Setting ว่าตั้งค่าไว้สูงหรือไม่ ปกติจะตั้งไว้ที่ 0   4. ค่าที่แสดงผลหน้าจอไม่ตรง     วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็คการตั้งค่า MUL Multiplier และค่า div divisor ว่าตั้งถูกหรือไม่ ปกติจะตั้งได้ 2 แบบ         กรณี CT 100/5             แบบที่ 1 ตั้ง MUL = 100                                     div = 5               แบบที่ 2 ตั้ง MUL = 200                                     div = 1   5. ค่า Transfer Output ออกไม่ตรง     วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็คค่า InH High Limit Setting Analog Input ปกติจะตั้งไว้ที่ 5 และเช็คค่า InL Low Limit Setting Analog Input ปกติจะตั้งไว้ที่ 100                             ให้ทำการตรวจเช็คค่า trH High Limit Setting for Transfer Output ปกติจะตั้งไว้ที่ 20 และค่า trL Low Limit Setting Transfer Output ปกติจะตั้งไว้ที่ 0   6. ตรวจเช็คว่าค่าที่แสดงผลหน้าจอตรงและถูกต้องหรือไม่     วิธีการแก้ไข : การตรวจเช็คว่าค่าที่โชว์บนหน้าจอถูกต้องหรือไม่ ให้ทำการใช้ Clamp Meter คล้องที่สาย CT และอ่านค่า แล้วนำไปคูณกับค่า CT Ratio และเปรียบเทียบที่หน้าจอว่าตรงกันหรือไม่ ถ้าไม่ตรงให้ทำการชดเชยค่าที่ PUS แทน   รวมเทคนิคง่าย ๆ การแก้ปัญหาที่พบบ่อย CLICK

Image Alternative text
ปัญหาที่พบบ่อยของ Process Indicator รุ่น TIM-94N

TIM-94N : Universal Input Digital Indicator   คุณสมบัติ 1. เป็น Process Indicator ที่ใช้แสดงผลค่าต่าง ๆ 2. Input เป็น Universal รับสัญญาณได้ทั้ง TC, RTD, 4-20mA, 0-10VDC, 0-10V, 0-5V 3. มี Alarm Relay สูงสุด 3 Alarm เพื่อตั้ง Function High Low Alarm ได้ 4. มี Option Transfer Output 4-20mA และ 0-10VDC โดยสามารถเลือกตั้งค่าเป็น Direct และ Inverse ได้ ตลอดจนมี RS-485 เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับ Computer ในการแสดงผลข้อมูลผ่าน Software   ปัญหาที่พบบ่อยในการใช้งาน   1. หน้าจอขึ้น Sbr   2. หน้าจอขึ้นขีดบน   3. หน้าจอขึ้นขีดล่าง   4. ค่าที่แสดงผลหน้าจอไม่ตรง 5. ค่า Transfer Output ออกไม่ตรง 6. ค่าอุณหภูมิวิ่งลง   วิธีการตรวจเช็คและแนวทางแก้ไข   1. หน้าจอขึ้น Sbr     วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็ค Input ว่าตั้ง Type Input ถูกต้องหรือไม่ ตรวจเช็คสายและจุดต่อว่าหลวมหรือขาดหรือไม่   2. หน้าจอขึ้นขีดบน     วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็คค่า SLH High Limit Setting ว่าตั้งค่าไว้ต่ำเกินไปหรือไม่   3. หน้าจอขึ้นขีดล่าง     วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็คค่า SLL Low Limit Setting ว่าตั้งค่าไว้สูงหรือไม่   4. ค่าที่แสดงผลไม่ตรงกับหน้าจอ     วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็คค่า PUS PV Correction Gain ว่าตั้งค่าถูกหรือไม่ และปรับค่าชดเชยที่ค่า PUS PV Correction แทน   5. ค่า Transfer Output ออกไม่ตรง     วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็คค่า InH High Limit Setting in Analog Input Limit และเช็คค่า InL Low Limit Setting in Analog Limit ว่าตั้งไว้ถูกต้องหรือไม่   6. ค่าอุณหภูมิที่วัดได้วิ่งลง     วิธีการแก้ไข : ให้ทำการตรวจเช็คขั้วต่อสาย Input ว่าจ่ายชุดขั้วบวกกับลบหรือไม่   รวมเทคนิคง่าย ๆ การแก้ปัญหาที่พบบ่อย CLICK

Image Alternative text
วิธีดูแลบำรุงรักษา PLC

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      PLC หรือ พีแอลซี ย่อมาจาก โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอลโทรลเลอร์ (Programmable Logic Controller) เป็นอุปกรณ์ควบคุมการทำงานของเครื่องจักรหรือกระบวนการทำงานต่าง ๆ ซึ่งสามารถรับสัญญาณอินพุต (Input) และส่งออกสัญญาณเอาต์พุต (Output) จากอุปกรณ์เครื่องมือวัดได้โดยตรง โดยภายในมี Microprocessor ที่เป็นมันสมองในการสั่งการ เรียกได้ว่าเป็นอุปกรณ์ควบคุมอัตโนมัติเลยก็ว่าได้        ในปัจจุบันได้มีนำ PLC มาใช้งานในอุตสาหกรรมเป็นจำนวนมาก ซึ่งมีหลายรุ่นแตกต่างกันเพื่อให้ผู้ใช้งานเลือกใช้ให้เหมาะสม เช่น PLC ที่มีขนาดเล็ก (Micro PLC) ที่มีจำนวน Input/Output ไม่มากนัก และ Vision PLC ที่มีการแสดงผลหน้าจอแบบ Graphic, LCD หรือ PLC แบบใช้ปุ่มกด (Keypad Switch), PLC แบบ Touch Screen เป็นต้น โดย PLC แต่ละรุ่นจะมีจำนวนอินพุต (Input) และเอาต์พุต (Output) ของอุปกรณ์ที่สามารถทำการเชื่อมต่อกับ PLC ได้แตกต่างกัน รวมถึง Port ที่ใช้ในการสื่อสารต่าง ๆ กับ PLC ด้วย โดย PLC แยกตามประเภทการใช้งานและงบประมาณ ยกตัวอย่าง PLC ยี่ห้อ Unitronics ดังนี้        ประเภทของ PLC (Programmable Logic Controller) ยี่ห้อ Unitronics   UniStream PLC Vision PLC Samba PLC Jazz & M91 PLC UniStream PLC เน้นกับงานที่ใช้กราฟฟิคหน้าจอแบบ Touch Screen Vision PLC สามารถเก็บข้อมูล (Data Logger) ได้ภายในตัวของ PLC เลย หน้าจอแบบ Touch Screen Samba PLC สามารถเก็บข้อมูล (Data Logger) ได้ภายในตัวของ PLC เลย หน้าจอแบบ Touch Screen (ราคาถูก) Jazz and M91 PLC มีขนาดเล็กกะทัดรัด (Micro PLC) หน้าจอแบบ LCD      โดยส่วนมากในงานอุตสาหกรรมเกือบทุกประเภทจะมีระบบควบคุมอัตโนมัติ (Automatic System) ที่ใช้ PLC เป็นตัวควบคุม และ HMI เป็นตัวสื่อสารระหว่างผู้ใช้งาน (Human) กับตัว PLC โดยให้ PLC สั่งงานไปที่เครื่องจักร (Machine) ซึ่งการทำงานของ PLC จะคล้ายกับหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่มีอินพุต (Input), หน่วยประมวลผล (Process Microprocessor ) และเอาต์พุต (Output) เพื่อต่อออกไปใช้งานร่วมกับอุปกรณ์เครื่องมือวัดอื่น ๆ ในการควบคุมการทำงานของเครื่องจักร (Machine) ในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีกระบวนการผลิต      ดังนั้นในการใช้งาน PLC ผู้ใช้งานจำเป็นต้องมีการหมั่นตรวจเช็คเป็นประจำ เนื่องจาก PLC จะประกอบไปด้วยภาคส่วนของอินพุต (Input), หน่วยประมวลผล (Process Microprocessor) และเอาต์พุต (Output) ซึ่งอาจจำเป็นจะต้องหมั่นดูแลตรวจสอบและซ่อมบำรุงรักษาเป็นประจำ เช่น การทำความสะอาด, ตรวจเช็คแบตเตอรี่ใน PLC, การตรวจเช็คพอร์ตสื่อสาร เป็นต้น        โดยในวันนี้ทางผู้บรรยายจะขอแนะนำการบำรุงรักษาในหัวข้อ “วิธีดูแลบำรุงรักษา PLC” เพื่อยืดอายุการใช้งานและลดความเสียหายของ PLC ดังนี้        • ควรหมั่นทำความสะอาดเป็นประจำ เนื่องจากอุปกรณ์ PLC มีส่วนประกอบของแผงวงจรและขั้วไฟฟ้าต่าง ๆ เมื่อใช้งานในงานอุตสาหกรรมที่มีฝุ่นและความร้อนให้หมั่นทำความสะอาดตลอดเวลา เพื่อลดฝุ่นไปเกาะในส่วนต่าง ๆ ส่งผลให้ PLC ทำงานได้ไม่ดีและไม่เต็มประสิทธิภาพ และในการทำความสะอาดควรจัดทำแผนในการ Maintenance ให้สอดคล้องกับไลน์การผลิตอุปกรณ์ เพื่อไม่ให้มีผลกระทบกับการผลิต และควรใช้แรงดันลมระดับกลางในการเป่าทำความสะอาดเพื่อไล่ฝุ่น และในส่วนของแผงวงจรอาจใช้ Contact Cleaner ใช้ในการทำความสะอาด        • ควรตรวจสอบแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ของ PLC บางรุ่นจะมีคาร์ปาซิเตอร์ เมื่อมีการเปลี่ยนแบตเตอรี่ข้อมูลยังคงอยู่ แต่ในบางรุ่นซึ่งไม่มีคาร์ปาซิเตอร์ ก่อนทำการเปลี่ยนต้องทำการสำรองข้อมูลก่อน และควรทำความสะอาดขั้วแบตเตอรี่ในการเปลี่ยนแต่ละครั้ง โดยแบตเตอรี่จะมีการติดตั้งในหน่วยประผลกลางของ PLC ทำหน้าที่จ่ายกระแสเพื่อรักษาข้อมูลและโปรแกรมที่ใช้ในการทำงาน โดยส่วนมากอายุการใช้งานของแบตเตอรี่มีอายุการใช้งาน 5-10 ปี หากเป็น PLC ที่มีอายุการใช้งานมายาวนานแบตเตอรี่อาจเสื่อม ส่งผลให้เกิดความเสียหายกับขั้วของวงจรที่ต่อกับแบตเตอรี่ หรือหากในกรณีที่ไฟของแบตเตอรี่อ่อนย่อมส่งผลให้การนำข้อมูลมาใช้หรือโปรแกรมทำได้ไม่เต็มที่        • ควรตรวจสอบพอร์ตสื่อสารเป็นประจำ ในการบำรุงรักษาอาจต้องมีการถอด PLC ออกมาในแต่ละชิ้น พอร์ตอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ กับ PLC ก็เป็นอุปกรณ์หนึ่งที่มีความสำคัญ หากตัวเชื่อมต่อไม่ดีอาจส่งผลให้การรับ-ส่งข้อมูลเกิดปัญหาได้ การตรวจสอบพอร์ตหลังจากที่ทำการบำรุงรักษาแล้วจะทำการเช็คดังนี้          - ตรวจสอบการทำงานของ PLC โดยดูจาก LED ที่แสดงสถานะการทำงานของ CPU โดยตรวจเช็คว่าอยู่ในสภาพทำงาน (RUN) หรือไม่          - ตรวจสอบที่ไฟสถานะของพอร์ตสื่อสาร สีเขียว คือ ทำงานถูกต้อง สีแดงเมื่อไม่สามารถทำการเชื่อมต่อได้ โดยปกติไฟในจุดนี้ควรกระพริบอยู่ตลอดหากข้อมูลส่งผ่านอย่างต่อเนื่อง          - หากพบว่าไฟมีสถานะแจ้งเตือนความผิดปกติ ควรตรวจสอบขั้วสัญญาณว่ามีอาการหลวมหรือหลุดหรือไม่ หากมีคาบฝุ่นให้ทำความสะอาดโดยการเป่าลมไล่ฝุ่นออก          - หากตรวจสอบตามข้อที่ 1-3 แล้วยังเกิดปัญหาการสื่อสารควรตรวจสอบสายสัญญาณว่ามีการขาดชำรุดหรือไม่ การขาดชำรุดอาจเกิดขึ้นภายในต้องตรวจสอบโดยใช้มิเตอร์ร่วมด้วย        ยกตัวอย่างภาพการตรวจสอบแบตเตอรี่ของ PLC รุ่น VISION 130 ยี่ห้อ UNITRONICS รูปตัวอย่างที่ 1 : ภาพการตรวจสอบแบตเตอรี่ของ PLC รุ่น Vision 130 ยี่ห้อ Unitronics        จากรูปตัวอย่างที่ 1 : วิธีการตรวจสอบแบตเตอรี่ PLC Unitronics ให้ดูในส่วนของ SB7 (SYSTEM BIT) ถ้า มีค่า =1 หมายถึง แบตเตอรี่กำลังอ่อนหรือหมดให้รีบทำการเปลี่ยนแบตเตอรี่ เนื่องจากถ้าแบตเตอรี่หมดจะส่งผลให้ค่าต่าง ๆ ของ PLC หาย จะทำให้เครื่องจักรไม่สามารถทำงานได้เพราะเครื่องจักรต้องมีค่าพารามิเตอร์ในการควบคุม เช่น Setpoint หรือ Time Counter ใน PLC ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง Backup ข้อมูล และโปรแกรมไว้ก่อนทำการเปลี่ยนแบตเตอรี่        ตัวอย่างภาพการตรวจสอบพอร์ตสื่อสารของ PLC รุ่น VISION 130 ยี่ห้อ UNITRONICS รูปตัวอย่างที่ 2 : การเช็คการสื่อสารของ Port PLC โดยทำการเชื่อมต่อสายเข้ากับ Port1 ของ PLC รุ่น Vision 130 ยี่ห้อ Unitronics        จากรูปตัวอย่างที่ 2 : ด้านบนเป็นการเช็คการสื่อสารของ Port  PLC โดยทำการเชื่อมต่อสายเข้ากับ Port1 ของ PLC จากนั้น เลือก PC Port เป็น Port เดียวกันกับ Device Manager ใน Hardware บนคอมพิวเตอร์ แล้วเข้าไปที่เมนู Connection ตามด้วยเมนู Communication and OS จากนั้นเลือก Baud Rate 115200 แล้วทำการกด Get OPLC Information ถ้าเชื่อมตัวได้จะปรากฏ Model, O/S ในหน้านี้ กรณีเชื่อมตัวไม่ได้ให้เช็คที่คอมพิวเตอร์ก่อนหรือสายที่เชื่อมต่อมีการเสียบอยู่หรือไม่ จากนั้นให้เช็ค Comport ว่า Detect เป็น Comport ไหน        ข้อดีของการดูแลบำรุงรักษา PLC ดังนี้      • ยืดอายุการใช้งานของ PLC+HMI      • มีแผนการ Maintenance ที่ชัดเจน ไม่ส่งผลกระทบกับการผลิตสินค้า      • หลีกเลี่ยงปัญหาเครื่องจักรหยุด        ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน   ระบบควบคุมปั๊มลม เครื่องทดสอบอุปกรณ์ ระบบจ่ายเคมี   Switching Power Supply 5A Slim Relay Module SPDT Relay Module รีเลย์โมดูล Signal Tower Light  Terminal Block โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK

Image Alternative text
การเลือกใช้งาน Flow Switch vs Water Meter ให้เหมาะสม

โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK      ในปัจจุบันการใช้งานเครื่องมือวัดการไหล (Flow) หรือของไหล (Fluid) ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการวัดการไหลของไหลภายในท่อระบบปิดในโรงงานอุตสาหกรรม หรือบ้านพักอาศัย อาคาร คอนโดมิเนียม โดยธรรมชาติของของไหล (Fluid) จะมีตัวแปรต่าง ๆ ที่คอยส่งผลกระทบต่อการไหล (Flow) ไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิ (Temperature), ความดัน (Pressure), ความหนืด (Viscosity), ความหนาแน่น (Density), ความอัดตัวได้ (Compressibility) หรือสิ่งปฏิกูล ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนแล้วแต่ส่งผลให้การไหล (Flow) ไม่เต็มประสิทธิภาพเท่าที่ควร แล้วจะมีตัวช่วยในเรื่องดังกล่าวอย่างไร? วันนี้เราจะมาแนะนำอุปกรณ์เครื่องมือวัดของไหล (Flow Measuremen) ที่เป็นส่วนหนึ่งของการวัดการไหล คือ Flow Switch ตรวจจับการไหลของน้ำหรือของไหลในท่อ และ Water Meter มิเตอร์น้ำหรือมาตรวัดน้ำ อุปกรณ์สำหรับการวัดปริมาณการใช้น้ำเพื่อการเลือกใช้งานที่เหมาะสม ในหัวข้อ "การเลือกใช้งาน Flow Switch vs Water Meter ให้เหมาะสม"        ก่อนอื่นมาทำความรู้จักกับ Flow Switch และ Water Meter ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร? โดยแยกเป็น 2 ประเภทตามการใช้งาน ดังนี้        1. Flow Switch (สวิตช์ใบพาย) เป็นอุปกรณ์สวิตช์ (ON-OFF) ที่ติดตั้งไว้กับท่อเพื่อตรวจสอบเมื่อมีของไหลผ่านจะทำให้หน้าสัมผัสของสวิตช์ทำงาน ปกติหน้าสัมผัสที่ใช้ในสวิตช์ควบคุมการไหลมีแบบปกติปิด (NC) และแบบปกติเปิด (NO) ให้เลือกใช้ในทางปฏิบัติ นิยมต่อสวิตช์ควบคุมการไหลอนุกรมกับคอยล์ของแมกเนติกคอนแทคเตอร์ที่ควบคุมปั๊มอีกที หรือหลอดไฟสัญญาณแสดงสถานะการทำงานเพื่อควบคุมและป้องกันไม่ให้ปั๊มเกิดการ Run Dry ในกรณีที่ไม่มีของไหลไหลภายในท่อ ดังรูป ลักษณะการติดตั้ง Flow Switch โดยการยึดเกลียวเพื่อตรวจจับการไหลของน้ำในท่อ รุ่น WS-01 (แบบใบพาย 3 ระดับ)        ข้อแนะนํา : การติดตั้งตัว Flow Switch แบบใบพาย ควรเว้นระยะห่างจา ข้องอ, วาล์ว หรืออุปกรณ์อื่น ๆ อย่างน้อย 5 เท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อ จึงจะสามารถทํางานได้ดีที่สุด        2. Water Meter (มิเตอร์น้ำ หรือ มาตรวัดน้ำ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดปริมาตรของน้ำ โดยมิเตอร์น้ำ (Water Meter) จะทำหน้าที่วัดปริมาตรน้ำเมื่อมีการไหลผ่าน และส่งค่าที่ได้ไปที่หน้าปัดหรือหน้าจอแสดงผลซึ่งมีหลักการคำนวณและแปลงอัตราส่วนที่คำนวณได้เพื่อแสดงผลเป็นค่าที่ทำให้ผู้ใช้สามารถอ่านได้เป็นสากล เช่น ปริมาตรหน่วยลิตร (Liter) หรือลูกบาศก์เมตร (Cubic Meter) เป็นต้น โดยมีมิเตอร์น้ำ (Water Meter) หรือมาตรวัดน้ำแต่ละประเภท      ชนิดของ Water Meter แต่ละประเภท ทั้งแสดงเป็นตัวเลข แสดงค่าของปริมาณน้ำที่หน้าปัด หรือส่งสัญญาณไฟฟ้าไปยังชุดแสดงผล   Single Jet Multi Jet Horizontal Woltmann Model : CPR-M3-I Model : GMB-I Model : WDE-K50        การใช้งานอุปกรณ์เครื่องมือวัดของไหล (Flow Measuremen) ที่เป็นส่วนหนึ่งของการวัดการไหลนั้น เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นเราจึงสรุปข้อมูลที่สำคัญเพื่อช่วยในการพิจารณาเลือกใช้งาน โดยมีข้อแตกต่างการนำไปใช้งานของ Flow Switch และ Water Meter ดังนี้        Flow Switch (สวิตช์ใบพาย) เป็นสวิตช์ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ เช่น ปั๊มน้ำ โดยอาศัยการไหลของน้ำหรือของเหลวมาพัดพาให้ใบพายที่เชื่อมต่อไปยังสวิตช์เคลื่อนที่ไปตามทิศทางการไหล ซึ่งจะมีผลให้สวิตช์มีการตัดต่อและสั่งจ่ายหรือตัดกระแสไฟฟ้าที่จ่ายไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้านั้น ๆ โดยมี Timer การปรับหน่วงเวลา สามารถปรับให้การตัดต่อสวิตช์เป็นไปตามอัตราการไหลมากน้อยได้ตามต้องการ        Water Meter (มิเตอร์น้ำ หรือ มาตรวัดน้ำ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดปริมาตรของน้ำ ทั้งมิเตอร์น้ำจากการประปาที่ติดตั้งทุกครัวเรือน และมิเตอร์น้ำแยกย่อย เช่น ตามหอพัก อะพาร์ตเมนต์ บ้านเช่า โรงงานอุตสาหกรรม การก่อสร้าง งานเกษตรกรรม เป็นต้น เพื่อตรวจสอบปริมาณการใช้น้ำของแต่ละจุด        ตารางสรุปความแตกต่างเพื่อเลือกใช้งาน Flow Switch กับ Water Meter ให้เหมาะสม   Flow Switch Water Meter • มี Delay Timer สั่ง OFF ในกรณีที่น้ำมาไม่เต็มท่อ หรือน้ำมาขาดเป็นบางช่วง • มีหน้าจอแสดงค่าของปริมาณน้ำที่หน้าปัดหรือส่งสัญญาณไฟฟ้าไปยังชุดแสดงผล • เอาต์พุตแบบ Relay Output • มีเอาต์พุตแบบ Pulse Output เพื่อไปแสดงค่าให้กับอุปกรณ์อื่น ๆ • ประยุกต์ใช้ได้กับระบบอุตสาหกรรมและบ้านเรือน • ประยุกต์ใช้งานกับหอพัก, คอนโด, อะพาร์ตเมนต์ • เป็นการช่วยตรวจสอบไม่ให้ปั๊มเกิดการเสียหาย, ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุง, ทำให้กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพมากขึ้น • ติดตั้งเพื่อเก็บค่าการใช้น้ำของแต่ละห้อง เพื่อนำมาคิดค่าใช้จ่ายแบบไม่ต้องเดินจด โดยผ่าน Software ได้      ตัวอย่างลักษณะการติดตั้ง Flow Switch โดยการยึดเกลียวเพื่อตรวจจับการไหลของน้ำในท่อ        การประยุกต์ใช้งานมิเตอร์น้ำ (Water Meter) ร่วมกับมิเตอร์วัดค่าทางไฟฟ้าและน้ำ รุ่น KM-24-Lโดยสื่อสารบนเครือข่ายแบบไร้สาย LoRaWan มิเตอร์น้ำ (Water Meter) ประเภท 1 Phase kWh Meter with LoRaWan Model : KM-24-L ร่วมกับ Multi Jet Single Phase kWh Meter With LoRa Single Pump Relay Single Pump Controller Level Switch เซ็นเซอร์ตรวจจับระดับ Industrial Pressure Transmitters โทรสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม   กรอกข้อมูลเพื่อให้เจ้าหน้าที่ติดต่อกลับ CLICK